การประพฤติธรรมในมงคลสูตร มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 152
หน้าที่ 152 / 356

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในตอนนี้สำรวจการประพฤติธรรมตามอุสกุลธรรมบง 10 ประการ โดยอาจารย์ได้แสดงความสำคัญของธรรมจริยา ที่มังคลิดลแสดงไว้ในพระสูตร ทั้งในประโยคที่เกี่ยวข้องกับการสร้างกรรมดีและกรรมชั่ว โดยยกตัวอย่างคำสอนของพระผู้มีพระภาคที่ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการทำบุญและการปฏิบัติธรรม ซึ่งช่วยให้เข้าถึงสวรรค์ในโลกหน้าและมุ่งสู่ความมีศีลในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-การประพฤติธรรม
-มงคลสูตร
-อุสกุลธรรมบง
-กรรมดีและกรรมชั่ว
-พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๕ - มังคลิดลที่นี่นเปล เล่ม ๒ - หน้าที่ 152 ธรรมคืออุสกุลธรรมบง. ผู้ใด ประพฤติธรรมคืออุสกุลธรรมนนั้น โดยความ ผู้บัง ชื่อว่า เว้นจากอุสกุลธรรมมิใช่หรือ? เมื่อเป็น เช่นนั้น พระองค์จัดสร้างประพฤติธรรมในจดนี้ว่า "ทานญอ ชมมูจริยา จ" ไว้อเคือประโยชน์อะไร? - อาจารย์ผู้แถลงกล่าวว่า "รวมณี ที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า วิญ' เพื่อทรงแสดงความ ที่วิริอันนนั้นแทน เป็นมงคล ในมงคลข้อนว่า 'วิญโยจ สุสกิฏิโต' นี่ ส่วนรวมณี ที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ธรรมจริย เพื่อทรงแสดง ความที่การประพฤติธรรมเป็นมงคล ในมงคลข้อว่า 'ทานญอ ชมมูจริยา จ' นั้น. อีกอย่างหนึ่ง โดยความ ธรรมคืออุสกุลอ ธรรมบง ๑๐ ประการนั่นเอง ชื่อว่า ธรรมจริยา. จริงอยู่ ธรรมคือ อุสกุลธรรมบง ๑๐ ประการนั้น ในพระสูตรทั้งหลายมีสาเหตุสูตร เป็นต้น พระผู้พระภาคทรงแสดงไว้เช่นนั้น (เหมือนกัน) เพราะ ฉะนั้น พึงเห็นว่า คำว่า ชมมูจริยา พระผู้พระภาคตรัสไว้ด้วย สามารถเท่านั้นในสาเหตุสูตรเป็นต้น. ในอธิปาบแห่งธรรมจริยา นั้น พระอราฎกอธาชหลาย แสดงบาในสาเหตุสูตร เป็นต้นว่า 'พราหมณ์และคฤหัสถ์หลาย สัตว์ต่างพาในโลกนี้ เมืองหน้าแด่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าสู่สุตโลกสวรรค์ เพราะ เหตุแห่งธรรมจริยมนอรีา' ดังนี้เป็นต้น."- ถกว่าว่ายุตกธรรมบงมจก. [๒๖๕] ก็เลยในกรรมบถง ๒ นั้น กุศลกรรมบง เรียกว่า สุจริตบ้าง ออกกาลบงนอกจากนี้ เรียกว่า ทุจริต. ในสุจริตและ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More