การวิเคราะห์กิริยาและกรรมในสัตว์ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 126
หน้าที่ 126 / 356

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้ได้กล่าวถึงการกระทำของสัตว์และการทำบาปตามประเพณีธรรม โดยอ้างอิงจากตำราพุทธศาสนา เช่น พระอรรถกถา ที่แสดงให้เห็นว่าการกระทำเหล่านี้มีผลต่อผลกรรม โดยเฉพาะในเรื่องของความโกรธ การห้ามกรรมและความสำคัญของสรีระ อีกทั้งยังมีการกล่าวถึงการศึกษาหมายความของคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรรมและความเบี่ยงเบนของสัตว์ และการวิเคราะห์ตามหลักของสาสน์ในตำราโบราณดั่งพระอรรถกถาพระปัณฑุกสูตรและอื่นๆ เพื่อทำความเข้าใจในลักษณะจิตใจและการทำกรรมของสัตว์.

หัวข้อประเด็น

-การทำกรรมของสัตว์
-การห้ามกรรม
-เหตุและปัจจัยในกรรม
-คำศัพท์ทางธรรม
-อรรถกถาศึกษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๕ - มังคลัตถทีบนี้แปล เล่ม ๒ - หน้าที่ 126 สัตว์ทั้งหลายจะประพฤติบาปอย่างไร ? จึงกล่าวว่า "แต่สัตว์ ย่อมมีความสำคัญอย่างนี้ว่า "เราทั้งหลายทำ" ได้ทราบว่า เจ้าลักษ ปูรณนั้น มีความเห็นอย่างนี้ว่า "กิริยามีความเบี่ยงเบนสัตว์เหล่านี้ เป็นต้น ย่อมนึงดน เพราะคนโน้นไม่วิการ เหตุเป็นลภาพเท็จ ส่วนสรีระไม่เท่า น เปรียบดูท่อนไม้, แม้เมื่อสรีระนั้นบุคคลให้ กำเริบแล้ว บาปอะไรมีไหม." บทว่า สุขพาฐี คือ โดยประการ ทั้งปวง ที่เจ้าลักษณ์กล่าวว่าไว้เป็นต้นว่า "โกรธ" ดังนี้ อารมณ ศัพท์ (คือ เอว) ในบทว่า กิริยมวา ดังนี้ มอ่นไม่ห้ามวิกาให้กลับมา เป็นอรรถ จริงอยู่ เจ้าลักษณ์ใดห้ามกรรม, โดยความ เจ้าลักษณ์นั้น ก็ชื่อว่า ห้ามวิบากด้วยแท้.จริงอย่างนั้น พระอรรถกถาจารย์ จัก กล่าวว่า แม้ผู้ห้ามกรรม ดังนี้เป็นต้น. บทว่า อุทยาน (โยค เหตุ- ปจจุวามนเนน) แปลว่า ด้วยคำว่าเหตุและปัจจัย. บทว่า ลุงคลาส- ปจจุยคือ ซึ่งเหตุแห่งสิกขเลส ได้แก้เหตุแห่งธรรมเครื่องเศร้าหมอง. บทว่า วิญญูปจจัย คือ ซึ่งเหตุแห่งความหมดจด คือแห่งความ ผ่องแผ้วอันสังสัยสิ้นแล้ว." [๒๒๒] วาทเหล่านี้ มาแล้วในสามัญสูตร ในสาสน์ขัณ- วรรค โดยผิดคาดตามลำดับนี้ ส่วนในปัณฑุกสูตร ในปฐมวรรค มัชฌิมปิญาณสก. มาตามลำดับนี้ คือ นัตถิกทิศ อวิตทิกิฐี อหุตฤทธิ์ฯ. เพราะฉะนั้น พระอรรถกถาจารย์ยังทั้งหลาย เมือจะ สังวรณาความ โดยสมควรแก่ลำดับเหตุวานั้น จึงกล่าวไว้ใน อรรถกถาอปนณสูตรนั้นว่า "ถิณทิฐิ ๓ อย่างเหล่านี้ นัตถิก-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More