มังคลิดาที่นี้เป็นเปล เล่ม ๒ - หน้า ๓๑๙ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 319
หน้าที่ 319 / 356

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาที่กล่าวถึงคำสั่งสอนเกี่ยวกับธรรมข้อนำส่งและความสัมพันธ์ระหว่างเพศและชีวิต บทนี้ได้สำรวจถึงบทบาทของสตรีในสังคมและว่าด้วยมุมมองของธรรมะที่มีผลต่อชีวิตการอยู่ร่วมในสังคม นอกจากนี้ยังมีการอภิปรายเกี่ยวกับความสำคัญของการที่ผู้หญิงรับอุปกรณ์แห่งเรือนและปรับตัวเข้ากับบทบาทต่างๆ ที่ได้รับในฐานะแม่บ้านและสัมมาทิฏฐิ การเป็นภิกษุและรูปแบบความสำเร็จที่แตกต่างกันไปตามบริบทการดำรงชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-ธรรมะและสังคม
-ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ
-บทบาทของสตรีในสังคม
-การดำรงชีวิตในรูปแบบต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๔๕ - มังคลิดาที่นี้เป็นเปล เล่ม ๒ - หน้า ๓๑๙ มีคำสังกรมสูตรและสัมมาทิฏฐิสูตร ว่า "สธรรมชนนิผู้มีโคตรเสมอกันรักษาแล้ว ชื่อว่า โคตรคฤฏิฏิตา, สธรรมชนผู้มีธรรมร่วมกันรักษา แล้วชื่อว่า ธรรมฤฏิฏิตา, สัมมิมติสามี ชื่อว่า สารคุณ, พระราชาทงอาญาไว้ในพระอเมริดศรีใด สริติแห่งนี้ชื่อว่า สปริณทู." [๒๓๓] นัยอันมาในอรรถกถาสัญจรจิตสิกขาขบท ว่า "สตรึ" เข้าส้อมด้วยทรัพย์น้อยบ้างมากบ้าง ชื่อว่า ธนกิตติ. ก็เพราะสตรีนี้เพียงเข้้อมาด้วยทรัพย์เท่านั้น ยังไม่มีชื่อวาริยา, แต่ที่ชื่อว่า เรียา ก็เพราะเป็นผู้เทียนชื่ออมเพื่อประโยชน์แก้การอยู่ร่วม; ฉะนั้น ในนิกเทสแห่งบ่าวว่า ธนกิตติ นั้น พระอุบาลีเราจึงกล่าวว่า "บูรษช่อมาด้วยทรัพย์แล้วได้อยู่" สตรึโด ยอมอยู่ด้วยความพอใจ คือ ด้วยความยินดีของตน เหตุนี้ สตรึนี้ ชื่อว่า ฉนทวาสินี. แต่เพราะเหตุนี้สตรึนั้น ย่อมเป็นภิกษอด้วยเหตุสักวาความในของตน ฝ่ายเดียวก็หาไม่ แต่ชื่อว่าเป็นภิกษอ เพราะเป็นผู้อบนบูรรับรองแล้ว ฉะนั้น ในบทเทสแห่งบ่าวว่า ฉนทวาสินี นั้น พระอุบาลีเราจึงกล่าวว่า "บูรษที่รจ ย่อมยังสตรีที่รุกให้อยู่" สตริโด ยอมอยู่ด้วย โกคะ เหตุนี้นั้น สตรนี้ชื่อว่า โควกสินี คำว่า โควกสินี นั้นเป็นชื่อแห่งสตรในชนบท ผู้ได้อุปกรณ์แห่งเรือนมีคราสลากเป็นต้น แล้วเข้าถิ่นความเป็นภิกษอ สตรโ ย่อมอยู่ด้วยแผนผ้า เหตุนี้ สตรนี้ชื่อว่า ปุฬวาสินี คำว่า ปุฬวาสินี นั้น เป็นชื่อแห่งสตร ๑๙. สนมุต.๒๕๐.๒ ว. มหาวิภาค. ๑/๕๐๔๓. ๓. ว. มหาวิภาค. ๑/๓๐๔.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More