มังคลิดำใบบัลลอ เล่ม ๒ - หน้าที่ 302 มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 302
หน้าที่ 302 / 356

สรุปเนื้อหา

ข้อความนี้กล่าวถึงการห้ามทำบาปกรรมและการตั้งอยู่ในความดี โดยเชื่อมโยงกับเรื่องราวของอนาคินทิกเศรษฐีและบุตรของเขาที่ไม่สามารถห้ามกันได้จากการทำกรรมที่ไม่ดี. นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความสำคัญของการฟังธรรมและการรักษาความดีตามคำสอนของพระพุทธเจ้า. การติเตียนเป็นเครื่องตอบแทนของบาปกรรมและการทำความดีเป็นสิ่งที่สำคัญในการดำรงชีวิต. เพื่อเป็นแนวทางในการมีชีวิตที่ดีและมีสติในการกระทำต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-การตั้งอยู่ในความดี
-การติเตียนบาปกรรม
-อนาคินทิกเศรษฐี
-ความสำคัญของการฟังธรรม
-บทเรียนจากพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๔ - มังคลิดำใบบัลลอ เล่ม ๒ - หน้าที่ 302 เป็นออมณ์ เพราะการห้ามแมจากวัดดูที่ประจวบเข้า พึงมิได้พบเมื่อ วิธีตกมะยังเป็นออนาคติเดียว ไม่พึงมี ในเมื่อวิธี students เป็นไปอยู่ (ปัจจุบัน), แต่ทำความช้า อนุญุ. ให้บุญเกิดแล้ว มีวิธีสักว่า การติเตียนเป็นเครื่องตอบแทน ด้วยเหตุนี้ ในอรรถกถา ท่านจิง กล่าวว่า "มาราคิดกล่าวอาที่พ่อนมีไปสูจนี้และ สัมปรายภ แห่งงามปธรรมมิใจคัดเป็นต้นแล้ว ห้ามว่า 'พ่อ เจ้ อย่าทำ บาปกรรมเห็นปานนี้นะ' ย่อมติเตียนแน.bาปกรรมที่ฎุรทำแล้ว" [ให้ตั้งอยู่ในความดี] [๒๒๓] ในฐานะที่ ๒ ว่า กุลยาณ นิวาสนุติ พึงทราบวิธีฉัย ดังนี้: มาราคิดแม้ไหร่วงวัลแล้ว (แนะนำ) ยังควรให้ตั้งอยู่ คือ ให้ดำรงอยู่ในกิริพั้งหลายมีการสมาทานคือเป็นต้น เหมือนอนาค- ปิติทิศเศรษฐี และมารดาของมิตวันทีนาในกาลของพระกัลสาล- พุทธเจ้า. [เรื่องกาพญามาร] [๒๒๔] ดังได้กล่าวมา อนาคินทิกเศรษฐีไม่อาจจะห้ามกุมาร ชื่อกะ ผู้เป็นบุตรของตน ซึ่งไม่ทำกรรมคือการฝ่าพระพุทธเจ้า การฟังธรรม และการขวนขวาย (กิ่ว) ของสงฆ์ จึงพูดว่า "พ่อ เจ้ามาเป็นผู้ทรายอุบล ฟังธรรมในวิหารแล้วมา, พ่ออาจให้ ทรัพย์ ๑๐๐ กาผในแก่นเจ้า" เพราะความโลกในทรัพย์ เขาจึงเป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More