พระพุทธพจน์และวิจัยในธรรม ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 30
หน้าที่ 30 / 409

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงพระพุทธพจน์ที่แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ปฐมพุทธพจน์ มัชฌิมพุทธพจน์ และปัจฉิมพุทธพจน์ โดยมีการเน้นความสำคัญของธรรมและวินัยในการดำเนินชีวิต และการสอดสัมพันธ์กับคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อให้ประชาชนเข้าใจถึงการพ้นทุกข์ และการบรรลุพระนิพพาน ซึ่งอยู่บนหลักธรรมและการปฏิบัติตามวินัยนั้น.

หัวข้อประเด็น

- พระพุทธพจน์
- ธรรม
- วินัย
- การศึกษาในพระพุทธศาสนา
- ปฐมพุทธพจน์
- มัชฌิมพุทธพจน์
- ปัจฉิมพุทธพจน์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ข้อความในภาพ): (ปรโญค) - ปฐมสนับสนุกนับกิเลสกภาค 1 - หน้าที่ 25 คือ อันทพระพุทธเจ้านั่งหมดนี้นั่นแล ย่อมถึงนับว่า "พระธรรมและวินัย" บรรดาธรรมและวินัยนั้น วินัยปิฎก ชื่อว่าวินัย พระพุทธพจน์ ที่เหลือชื่อว่าธรรม. เพราะเหตุนี้นั่นแล พระมหากษัตริย์ได้กล่าวไว้ แล้วว่า "ผู้มีอายุ ! อย่ากระนั้นเลย พวกเรากำลังสายบนธรรมและวินัย" และว่า "เราพึงถามพระวินัยกะท่านอุบาลี, พึงถามพระธรรมกะท่านอานนท์" ดังนี้ พระพุทธพจน์ ชื่อว่ามี 2 อย่าง ด้วยอำนาจธรรมและวินัย ด้วยประกากระนี้ [พระพุทธพจน์มี 3 อย่าง] พระพุทธพจน์มี 3 อย่าง ด้วอำนาจปฐมะ มัชฌิมะ และปัจฉิมะ อย่างไร ? คืออันที่จริง พระพุทธพจน์ทั้งหมดนั่นแล แบ่งประเภทเป็น 3 คือ ปฐมพุทธพจน์ มัชฌิมพุทธพจน์ (และ) ปัจฉิมพุทธพจน์ บรรดาพุทธพจน์ 3 อย่างนั้น พระพุทธพจน์ว่า "เราแสดงหาอยู่ซึ่งนายช่างผู้ทำเรือน เมื่อไม่พบ ได้ท่องเที่ยวไปสู่สงสาร มีความเกิดเป็น อกุศล, ความเกิดเป็นทุกข์ร่ำไป, และนายช่างผู้ทำเรือน ! เราพบเจ้าแล้ว, เจ้าสร้างเรือน (คืออัตภาพของเรา) ไม่ได้อีกต่อไป, ชื่อโรรง ทั้งหมดของเจ้าเราหักเสียแล้ว, ยอดเรือน (คือวิชา) เรารื้อเสียแล้ว, จิตของเราได้ถึงพระนิพพานมีสังขารไปปราศแล้ว, เราได้รับรุน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More