คำอธิบายเกี่ยวกับอวิชชาและวิชชา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 313
หน้าที่ 313 / 409

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายถึงนิยามและความสำคัญของคำว่า 'อวิชชา' และ 'วิชชา' ในพุทธศาสนา โดยเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการกำจัดความมืดและการเกิดขึ้นของแสงสว่างทางจิตใจ การอดทนและความเพียรในแง่ของการจำแนกแนวทางปฏิบัติเพื่อการเกิดเป็นอริยบุคคล โดยพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสสอนว่าการมีสติและความเพียรเป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างวิชชาและกำจัดอวิชชาในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

- อวิชชาและวิชชา
- ความเพียรในพุทธศาสนา
- แสงสว่างและความมืด
- นิยามและความเข้าใจในคำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ขออนุญาตละ - ปฐมสมุนปา สกัดแท้ ภาค ๑ - หน้า 308 คำพูว่า " ยฎ" ในคำว่า ยฎานี้ เป็นนิยาม ลงในความอุปมา คำพูว่า " ต" เป็นนิยามต. (วิชาขาเป็นต้นเกิดขึ้นแล้ว) แก่บุคคลผู้ถือว่าไม่ประมาณ เพราะ ความไม่อยู่ปรากฏจากสด, ผู้ซือว่ามีความเพียรเผาผลเสาะ เพราะงั้นเผลอ ให้เราร้อนด้วยความเพียร, ผู้ซือว่ามีดนส่งไปแล้ว อธิบายว่า “ผู้ส่งจิต ไปแล้ว” เพราะเป็นผู้ไม่มีความเอื้ออาทรในกายและชีวิต. พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสคำอธิบายไว้ว่า " อวิชชา เรามากำจัด ได้แล้ว, วิชชา เกิดขึ้นแล้ว (แก่เรา), ความมืด เรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว (แก่เรา), ผลอันสมควรแก่การประกอบความเพียรเนื่อง ๆ นั้น เราได้แล้ว เหมือนอย่างอวิชชา อันพระโยคาวจรพิ งามำด้, วิชชาพึงเกิดขึ้น, ความมืด พิฆูลกำด้, แสงสว่าง พึงเกิดขึ้น แก่พระโอวาทว่าผู้ไม่ประมาท ผู้มีความเพียรเผาผลเสาะ ผู้มานส่งไปแล้วๆ ฉันนั้นเหมือนกัน." หลายบทว่า อย่ โบ เม พุทธามุน ปรมา อภิณหิมพัท อทิส กอฏุอฎาปกุเสด อณุโถษม่า กล่าวว่า พราหมณ์! ความช้าแรกออกครั้งหนึ่ง คือความออกไปครั้งที่หนึ่ง ได้แก่ความเกิดเป็นอริยครั้งที่หนึ่งนี่เอง ได้มาแล้วก็เเก่า because ทำลายกระเปาะฟอง คืออวิชชา อันปกปิดนั่นที่เราอยู่อาศัยในกะพ่อเงา ด้วยจะอองปาก คือบุพพพินาวาสสุดสัญญา จุดความช้ารอกออก คือความออกไป ได้แก่ความเกิดในภายหลัง ในปู่ไฟ จากกระเปาะฟองนั้น เป็นลูก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More