ปฐมสมันตปาฐกถาแปล: การศึกษาและการเข้าใจลักษณะ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 272
หน้าที่ 272 / 409

สรุปเนื้อหา

บทนี้เสนอการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะในปรัชญา โดยเฉพาะการเข้าไปพิจารณาองค์ 5 ได้แก่ วิตก ความตรึก วิจาร ความตรอง ปีติ และสข เพื่อทำความเข้าใจลักษณะที่แท้จริงแห่งนิโรธ การประสงค์ในกรณีนี้ทำให้เกิดการอภิปรายถึงความสำคัญของอนามและความสมมาตรของจิต ซึ่งในตอนท้ายได้กล่าวถึงการตีความลักษณะว่ามีการมีอยู่ในองค์ 5 และวิธีการที่ชาวโลกเข้าใจถึงความเป็นปกติในปรัชญา เหตุนี้จึงมีความสำคัญในการศึกษาเพื่อเข้าใจลักษณะในทางปรัชญา

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของลักษณะในปรัชญา
-การวิเคราะห์องค์ 5
-อนามและการตีความที่เกี่ยวข้อง
-การเชื่อมโยงระหว่างวิถีสมรรถและผลสัมฤทธิ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ค): ปฐมสมันตปาฐกถาแปล ภาค ๑ หน้า 267 แก้วา " เพราะเขาไปพ่งลักษณะ.." จริงอยู่ บรรดาวิถีสมรรถและผลเหล่านี้ วิจิตสน ย่อม เข้าไปพ่งใครลักษณะ มือฉินลักษณะเป็นต้น ก็จักคือการเข้าไป เพง ด้วยวิถีสน ย่อมสำเร็จด้วยบรรร เพราะเหตุนี้ มรรค ท่านเรียกว่า " ลักษณ์นิโมธน." ส่วนผล ท่านก็เรียกว่า " ลักษณ์ป- นิสมาน" เพราะอรรถว่า เข้าไปเพ่งลักษณะที่แท้จริงแห่งนิโรธ แต่ในกรณีนี้ ท่านประสงค์เอาของมุ่งลักษณะเท่านั้นว่า " อนาม. " ในอธิการว่าวด้วยอนามนี้ พระอาจารผู้โจทก์ท้วงว่า " ชื่ออานาม ที่ควรจะพึงอึงอย่างนี้ว่า เป็นไปกับด้วยวิตก เป็นไปกับด้วยจิตรา ฯลฯ มีดีเท่า andสุข ดังนี้ นั้นเป็นในแล? ข้าแจ้ จะกล่าวเจตสฏต่อไป :- " เปรียบเหมือนบุรุณอื่น เว้นทรัพย์และปรีชาสี ย่อมเป็นผู้ไม่สมารถระที่พึงอ้างถึงใน ประโยคนี้ว่า " ผู้มีทรัพย์ ผู้มีบริสุทธิ์" ฉนใด, มนอื่น เว้น ธรรมมิวติเป็นต้นเสย ควรจะพึงอัตถิ ย่อมไม่มี ฉันนั้น เหมือน อย่างว่า การสมมติว่าเสนา ในองค์สนาทั้งหลาย ที่ชาวโลกกล่าวว่า " เสนา มีพลดา มีผลเดิมเท้า" ดังนี้นั้นแล บัญฑิตควรทราบดังนี้, ในอธิการนี้ ก็ทราบราบ การสมมติว่าเสนา ในองค์ ๕ นั้นแล ฉนั้นน. ควรทราบในองค์ ๕ เหล่าไหน? ในองค์ ๕ เหล่านี้ คือ วิตก ความตรึก วิจาร ความตรอง ปีติ ความอิ่มใจ สข ความ สบายใจ จิตตกคตCQ ความดีมีอารมณ์เดียว. จริงอยู่ องค์ ๕ เหล่านี้แหละ พระผู้พระภาคเจ้าตรัสไว้โดยความเป็นองค์แห่งนั่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More