การเข้าใจธรรมและนิพพาน ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 330
หน้าที่ 330 / 409

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นการเข้าใจธรรมะโดยเฉพาะเกี่ยวกับทุกข์และนิพพานตามคำสอนของพระพุทธเจ้าที่ท่านได้แสดงไว้เกี่ยวกับการหลุดพ้นจากทุกข์ โดยการพิจารณาถึงจริงและความเป็นจริงทั้งสองด้าน คือ ทุกข์และดี พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงคำสัจจะหลายอย่างเพื่อให้ผู้คนเข้าใจถึงจิตที่หลุดพ้นว่าเป็นเช่นไร ซึ่งการหยุดพ้นและการมีญาณรู้สามารถเกิดขึ้นได้เมื่อจิตมีการพัฒนาและเข้าใจสัจธรรมอย่างแท้จริง แนะนำให้มีการศึกษาเพื่อค้นพบความหมายที่แท้จริงของการหลุดพ้นในพระพุทธศาสนา มาที่ dmc.tv เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับธรรมะ.

หัวข้อประเด็น

-ความเข้าใจทุกข์
-นิพพานในพุทธศาสนา
-การหยุดพ้นจากทุกข์
-สัจจะในคำสอนของพระพุทธเจ้า
-ภูมิแห่งปัจจุบัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(คฑ) - ปฐมสมันดาปาสก้าแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 325 ว่า "ทุกข์นี้ประมาณเท่านั้น ไม่มีทุกข์ยิ่งไปกว่านี้" และเราได้รู้ คือ ทราบได้แก่แทงตลอดแล้ว ซึ่งนั้นทุกข์นั้นให้เกิด ตาม ความเป็นจริงด้วยการแทงตลอดลักษณะตามที่เป็นจริงว่า "นี้ ทุกขสมุทย์ แม้ทุกข์และดีนหาม ทั้ง ๒ นั้น ไปสู่สถานที่เดียวกัน เราได้รู้ คือ ได้ทุกข์ตลอดแล้ว ซึ่งสถานที่นั้น คือพระ นิพพาน อันเป็นไปไม่ได้แห่งทุกข์และดีนหาม ตามความเป็นจริง ด้วยการแทงตลอดลักษณะตามที่เป็นจริงว่า "นี้ทุกขนิรโรคะมินิปุจฉา" ดังนี้ พระผู้พุทธเจ้าครับทรงแสดงสัจจะหลาย โดยสรุปอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่อจะทรงแสดงด้วยอำนิจโดยรอย จิตรสลัก มือทิว่า "อิมา อาสวา" ดังนี้ หลายท่วา ตุตส เม เอ่อ ชานโต เอ้อ ปฺสูโต ความว่า เมื่อเรานับรู้เองนี้ เหนืออย่่างนี้ พระผู้พุทธองค์ ได้รัสดมรรร อันที่สุดพร้อมกับวิบัติสนาไว้ (ในบทเหล่านั้น) บทว่า กมาสาวะ แปลว่า จากกามาสะ พระอองค์ทรงแสดง ขณะแห่งไว้ด้วยคำว่า " หยุดพ้นแล้ว" นี้. แท้จริง จิตย่อมหลุด พ้น ในขณะแห่งมรรครา ในขณะแห่งจิตว่า หยุดพ้นแล้ว ทรงแสดงปภูมิแห่งปจจุบัญวณาถึงว่า "เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็ได้มาญรู้ว่า หยุดพ้นแล้ว" ดังนี้. ทรงแสดงภูมิแห่งปัจจวนตณนั้นไว้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More