ปฐมสมันตปาสาทแห่งแปล ภาค ๑ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 181
หน้าที่ 181 / 409

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอการพรรณนาเกี่ยวกับคำว่า 'เทน' ที่มีความสำคัญในพระพุทธศาสนา โดยมีการอธิบายความหมายและบริบทที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าและการบัญญัติพระวินัย การวิเคราะห์เนื้อหาและความสัมพันธ์ในคำว่า 'เทน สมยฺ' ทำให้เห็นถึงการถ่ายทอดความคิดทางศาสนาอย่างลึกซึ้ง ในการสื่อสารความจริงภายในใจของพุทธศาสนิกชน.

หัวข้อประเด็น

- ปฐมสมันตปาสาท
- การวิเคราะห์คำว่า 'เทน'
- ความหมายในพระพุทธศาสนา
- บทบาทของพระพุทธเจ้า
- การบัญญัติพระวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประกอบ) - ปฐมสมันตปาสาทแห่งแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 176 เวรัญช์กนิฎวรรณนา * บัดนี้ ข้าพเจ้าได้ทำการพรรณนานในความแห่งหลาย มีความว่า "เทน สมยฺ พฺุโธ ภควา" เป็นอานิค เพราะได้กล่าวไว้แล้วว่า "จักทำการพรรณนาวรรณะแห่งวิญญ" แสดง เนื้อความแห่งปฐมว่า "เทน" เป็นอานิคโดย ประการต่าง ๆ." ข้าพเจ้านักทำอธิฐานอย่างไรเล่า. [ อธิบายยบทว่า "เทน" เป็นต้น ] บทว่า "เทน" เป็นคำแสดงออกโดยไม่เจาะจง. บัณฑิตพึงทราบปฏิทัศกบทว่า "เทน" นั้น ด้วยคำว่า "เขย" นี้ ซึ่งเป็นคำสรูปแม่ไม่กล่าวไว้ แต่สำเร็จได้โดยใจความในภายหลัง. จริงอยู่ ความริชาของท่านพระสาริฐม๏ร ซึ่งเป็นเหตุแห่งการทูลสิวอนให้ บัญญัติพระวินัย สำเร็จได้ในภายหลัง เพราะเหตุนันน พึงทราบ สัมพันธในคำว่า "เทน สมยฺ" เป็นดังนี้ อย่างนี้ว่า "ความรำพึงนั่นเกิดขึ้น โดยสมใจ โดยสมมั่น พระผู้พะภาคพุทธเจ้าเสด็จ ประทับที่เมืองเวรัญชา." จริงอยู่วิธีนี้เป็นวิธีที่เหมาะมัยนิวินทั้งหมดย่อว่า "เทน" ท่านกล่าวไว้ในที่ใด ๆ ในนั้น ๆ บัณฑิตพึงทำปฏิทัศกด้วยคำว่า *เจ้พระคุณสมเด็จพระสังฆราช (จวน อุณฺ ชาย ป.ธ.6) วัดภูผึ้งวิเชียรม* แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More