ความเลื่อมใสและความสรรเสริญในพระธรรม ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 337
หน้าที่ 337 / 409

สรุปเนื้อหา

บทนี้พูดถึงการเลื่อมใสและความสรรเสริญในพระธรรม โดยให้ความสำคัญกับอภิญญาและการแสดงออกถึงความรู้สึกในลักษณะต่างๆ ทั้งในด้านความกลัว ความโกรธ และความอัศจรรย์ การชมเชยพระธรรมเทนาปและการแสดงความเลื่อมใสในคำสอนของพระโคดม ในที่สุดเนื้อหาเน้นเกี่ยวกับการแบ่งปันปรัชญาและความคิดที่สามารถนำมาปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน.

หัวข้อประเด็น

-ความเลื่อมใส
-ความสรรเสริญ
-อภิญญา
-พระธรรม
-การชมเชย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมันดาปาสากาแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 332 ด้วยอำนาจแห่งความเลื่อมใสและด้วยอำนาจแห่งความสรรเสริญ ด้วยลักษณะนี้ คือ:- "บัณฑิตผูู้ พึ่งการกล่าวชั่วๆ ไว้ (ในอรรถ ฯ อย่างเช่นนี้) คือ ในยะ ( ความกลัว) ในโกะ ( ความโกรธ) ใบสังสา ( ความสรรเสริญ ) ในดุริตะ ( ความรีบเร่ง) ในโกฏฐะ ( ความตื่นเต้น) ในอัจฉระ ( ความอัศจรรย์ ) ในทาสะ ( ความร่าเริง ) ในโลคะ ( ความโศก ) และในปลาทะ ( ความเคลื่อนไหว)" อีกอย่างหนึ่ง กล่าวว่า อภิญญุต แปลว่า นำใครยิ่งนัก น่า ปรารถนาอันนัก น่าชอบใจอันนัก มีคำอธิบายไว้ว่า " ดีงั้น" บรรดาอภิญญกันศัพท ๒ อย่างนั้น เวรรญูชพรามณ์ ย่อมชม เชยเทศนา ด้วยอภิญญกันศัพทอย่างหนึ่ง ยันชมเชยความเลื่อมใสของตน ด้วยอภิญญกันศัพทอย่างหนึ่ง จริงอยู่ ในความชมเชย มี อธิบายดังนี้ว่า " ข้าแต่พระโคคุผู้เจริญ! พระธรรมเทนาปของท่านพระโคดมผู้เจริญ น่าชมเชยนัก ความเลื่อมใสของข้าพระองค์ อาศัยพระธรรมเทนาปของท่านพระโคดมผู้เจริญ ดีงั้น" วรรญพรามณ์ ชมเชยปาปจาของพระผู้มีพระภาคเจ้าจินั่นแล มุ่งใจความเป็นสองอย่าง ฯ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More