ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปฐมสัมผัสกษัตริย์ ภาค ๑ - หน้าที่ 186
หนามหมดโทษปราศจากความอ่อนไหว หมดอดี ตงอยู่แล้วในธรรม
อันเป็นสาระ เพราะบรรดาคา ๕๐๐ รูปเหล่านี้ ภิกษุผู้มีคุณลักษณ์
หลัง ก็ได้เป็นพระโสดาบันบุคคล " ดังนี้.*
อธิบายคำว่า " อสูโสโล โณ" เป็นต้น]
พิธีทราบวินิจฉัยในคำว่า " อสูโสโล โณ วรณโธ พราหมณ์โน"
ดังต่อไปนี้:-
บทว่า " อสูโสโล " คำว่า ฟัง คือ ได้ฟัง ได้แท้ ได้เท็จ
ตามทำนองแห่งเสียงของคำพูดที่โศลกวาร ศัพท์ว่า โจ เป็นนิจต
ลงในอรรถเพียงทำให้เต็ม หรือในอรรถแห่งอธารนะ บรราคา
อรรถทั้งสองนั้น ด้วยอรรถแห่งอธารนะ พิธีทราบใจความดังนี้ว่า
" ได้ฟังจริง ๆ อันตรายแห่งการฟังอะไร ๆ ก็ได้มันเพราะพราหมณ์นั้น."
ด้วยอรรถว่าทำบำให้เต็ม พิธีทราบว่า เป็นเพียงความสละสลวยแห่งบท
และพยัญชนะเท่านั้น พราหมณ์ผู้เกิดในเมืองเวธราช ชื่อว่าเวธยชะ.
พราหมณ์มีในเมืองเวธราช ชื่อว่าเวธยชะ อีกอย่างหนึ่ง เมือง
เวธราชเป็นที่อยู่ของพราหมณ์นั้น เพราะฉะนั้น พราหมณ์นั้น จึงชื่อว่า
เวธยชะ. แต่ว่าพราหมณ์นี้ ชาวเมืองเรียกว่า " อฤาย " ด้วยอำนาจชื่อ
ที่มาคำบิดตั้งให้ ผู้ใดอาศัยยายพระเวท อธิบายว่า สายยายมนต์
ทั้งหลาย เหตุนัน ผู้นั้นชื่อว่าพราหมณ์ จริงอยู่ คำว่า พราหมณ์
นี้แล เป็นคำเรียกพวกรพราหมณ์โดยชาติก แต่พระครูเจ้า ทั้งหลาย
ท่านเรียกว่า " พราหมณ์" เพราะความเป็นผู้มาเปลาะเสี้ยนแล้ว.