พระพุทธเจ้าและพรหมจรรย์ในยุคสมัยต่างๆ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 386
หน้าที่ 386 / 409

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงพระชนม์ของพระพุทธเจ้าภายใต้ชื่อสัญคามและกัสสป รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างอายุของพระพุทธเจ้ากับพรหมจรรย์ในยุคสาวกา ซึ่งมีความสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความเชื่อนี้ในสังคมเขมร ข้อความยังกล่าวถึงว่า เพราะเหตุใดพระองค์จึงปรากฏในช่วงเวลาที่มีผู้มีอายุสั้น.

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธเจ้ากับอายุ
-พรหมจรรย์ในยุคสาวกา
-ความสำคัญของการแสดงธรรม
-อำนาจในการดำรงอยู่ของพรหมจรรย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ฉบับสมบูรณ์) - ปฐมสมเด็จท่านากะแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 381 มีพระชนม์สี่สิบห้านปี พระผู้มีพระภาคทรงพระนามว่าสัญคาม มีพระชนม์สามสิบห้านปี พระผู้มีพระภาคทรงพระนามว่า กัสสป มีพระชนม์สองห้าห้าปี พระภาสาวพร้อมหน้าทั้งหลายของพระ พุทธเจ้าเหล่านี้ มีอายุเท่ากันนี้เหมือนกัน และยุคแห่งสาวกา เป็นอันมากของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น ยังพรหมจรรย์ให้เป็นไป โดย ความสั้นต่อกันมา. พรหมจรรย์ดำรงอยู่นานโดยเหตุทั้งสอง คือโดย ประจานแห่งพระชนม์ ของพระพุทธเจ้าหล่านั้นบ้าง โดยคุณแห่ง สาวกบ้าง ด้วยประการฉะนี้. [เหตุที่พระพุทธเจ้าของเราเกิดในกาลแห่งคนมือฉ้อยน้อย] ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าของพวกเรา ควรจะเสด็จอุบัณขึ้นในกาล แห่งคนมือฉ้อยน้อยปี ซึ่งเท่ากับอายุถึงหนึ่ง แห่งพระชนม์ของพระผ มีพระภาคทรงพระนามว่า กัสสป ไม่ถึดคนมือฉ้อยน้อยนี้นั้น ก็ควร จะเสด็จอุบัณขึ้น ในกาลแห่งคนมือฉ้อยห้าพันปี หรือในกาลแห่งคน มีอายุหนึ่งพันปี หรือในกาลแห่งคนมือฉ้อยพันปี แต่เพราะเมื่อ พระองค์เสด็จมา คือแสดงธรรม อันพระทำความเป็นพระพุทธ- เจ้า ทรงยังญาณให้แก่กล้า ให้ตั้งครรภ์ (เพื่อคลอดคุณพิเศษ ) ญาณได้ถึงความแก่กล้า ในกาลแห่งคนมือฉ้อยปี เพราะฉะนั้น พระองค์จึงเสด็จออกขึ้น ในกาลแห่งคนมือฉ้อยเหลือเกิน เพราะ ฉะนั้น ควรกล่าวว่า" พรหมจรรย์แม่ครองอยู่ได้นาน ด้วยอำนาจความ สืบสต่อกันแห่งพระสวากของพระองค์ แต่ก็ดำรงอยู่ไม่ได้นนโดยการ นับปี ด้วยอำนาจปริมาณแห่งอายุเหมือนกัน."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More