ปฐมสมุนไพรสภาวะภาพสมองแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 282 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 287
หน้าที่ 287 / 409

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงความสุขที่เกิดจากการมีสติและสัมปชัญญะ โดยบัณฑิตพึงทราบการวินิจฉัยแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับสุขาและการเสวยสุขที่มาจากการปฏิบัติทางพระธรรม อธิบายว่าผู้มีตติยานจะได้รับการสรรเสริญจากพระอริยเจ้าซึ่งมีพระพุทธเจ้าเป็นตัวอย่าง การนำเสนอในบทนี้มีความสำคัญในการแสดงให้เห็นถึงการใช้ความรู้และความเข้าใจในทางธรรมเพื่อการเพิ่มพูนสุขของชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-สุขและความรู้
-พระพุทธเจ้าและพระอริยเจ้า
-การวินิจฉัยทางธรรม
-แหล่งที่มาแห่งสุข
-ความสำคัญของสัมปชัญญะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ปฐมสมุนไพรสภาวะภาพสมองแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 282 นี้ ด้วยอนุภาพแห่งสติและสัมปชัญญะ มีไม่มีด้วยประการอื่นดังนี้. " บัณฑิต พึงทราบวินิจฉัยในว่า " สุขาญา กายาน ปฏิรูปเวทส์ " นี้ต่อไป.- พระโโยผู้พร้อมด้วยตติยาน ไม่มีความริพในความสุข ความสุข แม้ก็จริง ถึงเมื่อเป็นเช่นนั้น พระโยคนั้น แม้ออก จากงานแล้ว ก็พึงเสวยสุขได้ เพราะเหตุที่รูปร่างของท่าน อันรูปที่ ประดิษฐ์ยิ่ง นี้มีความสุขที่สัปปายะนามกายของท่าน หรือความสุข ที่ประกอบนามกายนี้เป็นสมุฏฐาน ถูกต้อง ชิมชำแล้ว. เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงเนื้อความนั้น จิงตรวว่า สุขญา กายาน ปฏิรูปเวทส์ ดังนี้. บัณฑิต จะวินิจฉัยในว่า " ยนุต อรยู อาจิณมุติ อุปปนกิ สติมา สุขาวารี " นี้ต่อไป.- พระอริยเจ้าทั้งหลาย มีพระพุทธเจ้ิเป็นดัง ย่อมบอก คือย่อม แสดง ย่อมบั่นบื่ด ย่อมแต่งตั้ง ย่อมเปิดเผย ย่อมจําแนก ย่อม กระทําให้ดีขึ้น อธิบายว่า ย่อมประกาศ คือย่อมสรรเสริญ ซึ่งบุตรบุญมี ความพร้อมเพรียงด้วยตติยานนั้น เพราะเหตุแห่งนา ใน คือเพราะ ถนาใดเป็นเหตุ ย่อมสรรเสริญว่า " อย่างไร ?" ย่อมสรรเสริญว่า " เป็นผู้มีอุปญา มีดี อยู่เป็นสุข " ดังนี้. เราขอדัดตติยานนั้น อยูแล้ว โฆษณาในคำว่า " ยนุต อรยู " เป็นตันนี้ พึงทราบ ดังพรรณนามาอย่างนี้ ด้วยประกาศนี้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More