ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค[- ปฐมสมันตปฏิสันฐาน ภาค ๑ - หน้า 396
ส่วนในอธิการนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงถึงพุทธา - จินนะ (ความเคยประพฤติม่านของพระพุทธเจ้า) จึงตรัสพระดำรัส เป็นต้นว่า " อาณัญ โฬ นปนี อนุนุต คาตาดาน " ดังนี้.
กล่าวว่า อายาม แปลว่า เรามาไปกันเกิด.
กล่าวว่า อปลิโกลกสุขา แปลว่า เราจักบอกลา ( เวรัญช-พราหมณ์ ) เพื่อฉะนั้นการเที่ยวไปสู่ที่จำริก.
คำทั่วไป "เออ" เป็นนิบาต ลงในอรรถว่า ยอมรับ.
คำว่า " ญาณเจต " นั้น เป็นชื่อเรียกว่า ความเคารพ. จะพูดว่า ' ถวายคำสุดตอบแท่ะพระศาสดา ' ดังนี้บ้าง ก็ใช้ได้.
สองบ้างว่า ภควโต ปจอจโลสี ความว่า ท่านพระอานนท์
ทูลรับฟัง คือดังหน้า-fing ได้ความพระดำรัสของพระผู้พระภาคเจ้า
ด้วยดี. มีคำอธิบายว่า " ทูลรับด้วยคำว่า เออ นี้. "
ในคำว่า " อปลิโญ ภาวา นิวนาสฉวา " นี้ ท่านพระอุปาลี
มิได้กล่าวไว้ว่า " เป็นเวลาช้า " หรือ " เป็นเวลานิ่น." แม้มื่อ เป็นเช่นนั้น พระผู้พระภาคเจ้า ทรงทำภิกขเสริจแล้ว ทรงยับยั้ง อยู่ตลอดเวลาเทียววัน ให้ท่านพระอานนท์เป็นปัจจามะณะ ทรงให้ถนนในพระนคร ตั้งแต่แต่ประดุพระนครไป รุ่งเรื่องไปด้วยพระพุทธ- รษมิ ซึ่งมีชื่อคุอสายทอง เสด็จเข้าไปโดยทางที่เวศน์อย่างวรัช- พรามนั่นตั้งอยู่. ส่วนปรอรินเห็นพระผู้มีพระภาคผู้พอประมาณอยู่ ที่ประตูเรือนของเวรัญพราหมณ์เท่านั้น ก็ได้แจ้งว่าแก่พราหมณ์
พราหมณ์หนาวระลึกได้ แล้วก็เกิดความสงเวช จึงรีบลูกขึ้นสั่งให้จด