ความเป็นหมู่ใหญ่ในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 393
หน้าที่ 393 / 409

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการบัญญัติสิกขาบทในพระพุทธศาสนา โดยเน้นที่ความเป็นหมู่ใหญ่ของสงฆ์ ซึ่งต้องมีผู้เป็นพระเถระและการปฏิบัติร่วมกันเพื่อให้เกิดอาสวุฒูานียธรรม การเรียนรู้เรื่องนี้ช่วยให้เข้าใจถึงการจัดระเบียบและการดำเนินงานของสงฆ์ในพระพุทธศาสนา รวมถึงข้อกำหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการอุปสมบท

หัวข้อประเด็น

-ความเป็นหมู่ใหญ่ในสงฆ์
-การบัญญัติสิกขาบท
-อาสวุฒูานียธรรม
-การอุปสมบทในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมเด็จพระกษัตริย์ทอด สามารถ มีพระราชสืบสานหรือเกินกว่า สับ ให้จบสมบูรณ์ได้:- " ในภาค ที่สงมีถึงความเป็นหมู่ใหญ่ด้วยภิกษุรัตนาภิ ได้ทรงบัญญัติสอง สิกขาบท. บวกว่า " เวทุปลุมหฤต " มีความว่า ความเป็นหมู่ใหญ๋ ด้วยความเป็นหมู่เพลงหลาย. จิงอยู่ สงยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่ ด้วยความเป็นหมู่แพร่หลาย ด้วยอำนาจภิกษุหลายผู้เป็นพระเถระ ผู่ใหม่และผูนกลางเพียงใด เสนาะสะออมเพียงพอกัน, อาสวุฒูา- นียธรรมมากเหล่า ก็ยังไม่เกิดขึ้นในศาสนาที่งดงั้น, แต่เมื่อสงยัง ความเป็นหมู่ใหญ่ ด้วยความเป็นหมู่แพร่หลายแล้ว อาสวุฒูา- นียธรรมเหล่านั้นย่อมเกิดขึ้น. ที่นั่น พระศาสดาอ่อนทรงบัญญัติสิกขาบท. สิกขาบทที่ทรงบัญญัติในเพราะสงยังความเป็นหมู่ใหญ๋ ด้วยความ เป็นหมู่แพร่หลาย ใบบรรดาความเป็นหมู่ใหญ่เหล่านั้น บันฑิตผิง ทราบตามนี้ว่า " องค์ ภิกษุใด พึงสำเร็จการนอนร่วมกันกับ อนุปสัมปนั่นเกจสองอัน ภิกษุนี้ต้องปฏิจจ์. องิง ภิกษุใด พึงให้นามสบานาอุปสมบทตามปี นางภิกษุณีนัน ต้องปฏิจจ์. องค์ นางภิกษุณีใด พึงให้นามส าบานาอุปสมบทปีละ ๒ รูป นาง ภิกษุณีนัน ต้องปฏิจจ์. บทธว่า " ลากคุมฤคตุ" มีความว่า ความเป็นใหญ่เป็น ยอดแห่งลาผิว่า " ความเป็นใหญ่ใจ เป็นยอด จีอสมสุด แห่งลาผิว่า" อีกอย่างหนึ่ง ถึงความ ๑ วิ. มหา. ๔/๑๐๐.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More