ปฐมสมันตปาฐกถาแปล ภาค ๑ หน้าเท่า 258 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 263
หน้าที่ 263 / 409

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงมุมมองของบัณฑิตต่อกามว่าเป็นอุปสรรคในการเข้าสู่วิมุติ โดยการนำเสนอความคิดที่ว่าความเข้าใจเรื่องกามและการไม่ยึดติดกับกามสามารถนำไปสู่ความสงบและการหลุดพ้น พระผู้พระภาคเจ้าได้ตรัสถึงอุปสรรคที่กามสร้างขึ้นต่อชีวิตของสัตว์ และได้แก่การกล่าวถึงสถานะของบัณฑิตที่ควรดูจากวิภวิกและมีความเข้าใจในบททั้งสอง ทำให้สามารถเห็นความจริงของชีวิตได้ชัดเจนมากขึ้น ทั้งนี้การละจากอารมณ์และสิ่งเสพติดจะสามารถทำให้บุคคลเข้าถึงความรู้สึกที่เป็นอิสระจากความทุกข์และได้รับสติปัญญาที่จะนำไปสู่การส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์กาม
-ความหมายของบัณฑิต
-คำสอนของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการหลุดพ้น
-การเข้าใจวิภาคต่างๆ
-ความสำคัญของการไม่ยึดติด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ปฐมสมันตปาฐกถาแปล ภาค ๑ หน้าเท่า 258 แก่ว่า "กิแแล เอว อัคฌร ที่เป็นอาวรบะนั่น บัณฑิตไม่ควรเห็นอย่างนั้น เพราะว่า เอว อัคฌรนั้น พระผู้พระภาคเจ้า ตรัสไว้ในบทต้น ก็เพราะกามเป็นครองสัตว์เสียซึ่งตามนั้น แล้วจริงมนนี้อ่าวว่า สัตว์เสียซึ่งกามทั้งหลาย เพราะกามล่วงมาทำฉุด เสียได้ และเพราะเป็นข้าศึกต่อถามมาระกษะ เช่นนี้ว่า "มน คือกามะนั่นนั่น สัตว์เสียซึ่งกามทั้งหลาย" ดังนี้ อัน เอว อัคฌรนั่น บัณฑิตควรกล่าวไว้ในบทหลัง เหมือนอย่าง เอว อัคฌร ที่พระผู้พระภาคเจ้าทรงนำมาตรัสไว้ในคำว่า "ดูอ่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะดี มีอยู่ในศาสนานี้เดียว สมณะที่ ๒ มีอยู่ในศาสนานี้" ดังนี้เป็นต้น ฉะนั้น จริงอยู่ ใคร ๆ ไม่สงัด แล้วจากอุปสงค์ทั้งหลาย กว่าคือวิลิศฎ์ แม้ฉันท่านนี้ไม่อาจจะแบกูบาอยู่ได้เลย เพราะฉะนั้น บัณฑิตพึงเห็นความนิยมนี้ แมในบททั้งสองอย่างนี้ว่า "พระโยคาวจร ส่งแล้วเทียว จากบททั้งหลาย ส่งแล้วเทียวจากอุปสงค์ทั้งหลาย" ดังนี้ อันนี้ วิวาทเมื่อทั้งมด มิตั้งวิภาคและภาววิภาคเป็นต้น ย่อมถึงความสงสาระเข้ามาในบททั้งสอง ด้วยคำที่เป็นสารณะนี้ ว่า "วิวจีจ" แม้ก็จริง ถิ่นกระนั้น ในอธิกานี้ ก็อควรเห็นวิภวิกเพียง 3 เท่านั้น คือ กายวิภาค จิตวิภาค วิมังควาวิภาค ก็พวกวัตถุกาม ที่พระสง่ารูปเถร กล่าวว่าไว้ในเบท โดยย่น เป็นดังว่า "วัตถุกามเป็นใน ? คืออุปตันเป็นที่ชอบใจ" และพวก ๑. ข.ปฐิ. ๑๑/๒๖๔. ๒. อง. จตุก. ๑๓/๒๗. ๓. ข. มหา. ๔/๑.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More