เปรียบเทียบการทรงนำพระอนุสรณ์สถาน ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 257
หน้าที่ 257 / 409

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบการทรงนำพระอนุสรณ์สถานกับการฟักไข่ โดยพระผู้พระภาคเจ้าทรงบำเพ็ญอนุปสนาทิ้ง ๓ และการเติบโตของพระโพธิสัตว์ ซึ่งถือว่ามีความสำคัญในการเข้าใจธรรมชาติและการพัฒนาจิตใจของพระองค์ในแบบที่เปรียบเสมือนการเติบโตของฟองไข่ การที่พระโพธิสัตว์สามารถบำเพ็ญอนุปสนาทิ้ง ๓ ได้ครบถ้วนก็เหมือนกับแม่ที่ดูแลฟักไข่ให้เหมาะสมเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ดีได้อย่างถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

-การเปรียบเทียบการทรงนำ
-พระโพธิสัตว์
-อนุปสนาทิ้ง ๓
-การพัฒนาแห่งจิตใจ
-ธรรมชาติของพระผู้พระภาคเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ฉบับ) - ปฐมสมันตปาสาทกานแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 252 [ ข้อเปรียบเทียบการทรงนำพระอนุสรณ์สถานเหมือนการฟักไข่ ] บัดนี้ บัดทีควรเทียบเคียงคำอุปไมย ที่พระผู้พระ ภาคเจ้าว่าไว้โดยนัยเป็นต้นว่า "เอามวโล องค์ หนุ่งมุหน" แล้วพึงทราบโดยใจความ โดยนัยดังกล่าวต่อไปนี้ :- เหมือนอย่างว่า ข้อที่แม่ให้ขัน ทำกิจทั้ง ๑ มินอนกกอยู่ บนฟองไข่ทั้งหลายเป็นต้นของตน ฉันใด ข้อพระผู้พระภาคเจ้า ผู้ยังเป็นพระโพธิสัตว์ ประทับนั่งบนโพธิ์ลังก์ แล้วทรงบำเพ็ญ อนุปสนาทิ้ง ๓ คือ " ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนันตา" ในจิต สันดานของพระองค์ ก็ดังนั้น. ความไม่เสี่ยงไปแห่งวิจาสนาญาณ ก็เพราะพระผู้พระภาคเจ้า ผู้ยังเป็นพระโพธิสัตว์ ทรงบำเพ็ญอนุปสนาทิ้ง ๓ ให้ถึงพร้อม เปรียบเหมือนฟองไข่ทั้งหลายไม่่น่า ก็เพราะแม่ได้ทำกิจทั้ง ๓ ให้ถึง พร้อมดังนั้น. ความสิ้นไปแห่งความสนิทนา คือความติดใจไปตามใจกระบ ก็เพราะพระผู้พระภาคเจ้า ผู้ยังเป็นพระโพธิสัตว์ ทรงบำเพ็ญอุปสนาทิ้ง ๓ ให้ถึงพร้อม เปรียบเหมือนภาะที่จะระเปาะฟองไข่เป็นของบาง ก็เพราะแม่ได้ทำกิจทั้ง ๓ ดังนั้น. ความที่กระเปาะฟองคือวิสิษฎ เป็นธรรมชาติงาม ก็เพราะ พระผู้พระภาคเจ้า ผู้ยังเป็นพระโพธิสัตว์ ทรงบำเพ็ญอุปสนาทิ้ง ทั้ง ๓ ให้ถึงพร้อม เปรียบเหมือนภาวะที่จะระเปาะฟองไข่เป็นของบาง ก็เพราะแม่ได้ทํากิจทั้ง ๓ ดังนั้น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More