ปฐมบทสัมภาษณ์จากแปล ภาค ๑ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 185
หน้าที่ 185 / 409

สรุปเนื้อหา

การศึกษาอธิธรรมและการปฏิบัติตามสิกขาบทในพระพุทธศาสนา โดยนำเสนอความหมายของคำสอนจากพระอาจารย์และวิธีการสอนที่มีความลึกซึ้งเกี่ยวกับธรรมและพระวินัย แสดงถึงความสำคัญของกาลเวลาในการเรียนรู้และการฝึกฝนในศาสนา ความต่างระหว่างคำดว่าและการนำไปใช้ในบริบทต่าง ๆ ผ่านการอบรมที่เข้าใจได้ยากในอดีตและการพัฒนาทางปัญญาของพระเณรในปัจจุบัน. เนื้อหาให้ข้อคิดเกี่ยวกับความสำคัญของการมีสติและปัญญาในทางธรรม.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของธรรม
-การสอนของพระอาจารย์
-การบันทึกคำสั่งสอน
-วินัยในพระพุทธศาสนา
-การเรียนรู้และการพัฒนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ปฐมบทสัมภาษณ์จากแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 180 อธิรรมานั้น ภาวะแห่งธรรมเหล่านั้น อันนำอ่อนกนดด้วยความมีแห่งสมัย กล่าวคือ ขณะ สมายะ และเหตุ เพราะเหตุนี้ ในอธิรรม นั้น ท่านจึงทำบันทึกด้วยสัตว์มิวติคิต เพื่อส่งนี้ความนั้น ส่วนในวันนี้ สมุยพิธีเหตุเป็นอรรถและมมีรณะเป็นอรรถถึงสมกัน.* * คีลสมัยบัญญัติสิกขาบทนั้นใด เป็นสมัยที่พระสาริถุเป็นต้นรู้ได้ ยาก, โดยสมัยนั้น อันเป็นเหตุและกะระ พระผู้พระภาคเจ้าทรง บัญญัติสิกขาบทหลาย และทรงพิจารณาดูเหตุแห่งการบัญญัติสิกขาบท ได้เสด็จประทับอยู่ในนั้น ๆ เพราะฉะนั้น บันฑิตพิธีทราบว่า " ท่านท่านเทศด้วยตายนิวัตติในวันนี้ เพื่อส่งเนื้อความนั้น." ที่ในทนี้มีคำถามา (ด้วยสามารถแห่งการสงเคราะห์เนื้อความตามที่กล่าว แล้ว) ดังต่อไปนี้ว่า " เพราะพิธีรณเนื้อความนั้น ๆ ท่านพระเณร ทั้งหลาย จึงกล่าวสมัยพิทในพระสูตรและ พระอธิธรรมแห่งใดแห่งหนึ่ง ด้วยตภาพิวัตติ และสัตว์มิวติคิต, สมายพิั้นนั้นท่านกล่าวใน พระวินัยนี้ ด้วยตภาพิวัตติเท่านั้น." ส่วนพระโบราณาจารย์พระนาว่า " ความต่างกันนี้ว่า " ตต สมัย " คำดสมาย ในสมัยนั้นก็ดีว่า " ตสุมิ สมาย " ในสมัยนั้นก็ดีว่า " เตน สมาย " โดยสมัยนั้นก็ดี แปลกันแล้วเพียงลำคำ, ในทุก ๆ บทมีสัตว์มิวติคิตเท่านั้นเป็นอรรถค. เพราะฉะนั้น ตามลักษณ์ของ พระโบราณาจารย์นั้น แม้เมื่อท่านกล่าวว่า " เตน สมาย " แปลว่า * พระธรรมบันทิต (มานิต ดาวโร ปช.๕) วัดสพันวงค์ แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More