ปฐมสัมมาปฏิภาณภาค ๑ บทวิเคราะห์ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 288
หน้าที่ 288 / 409

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเสนอการวิเคราะห์เหตุผลที่พระอริยเจ้าได้สรรเสริญบุคคลที่มีความพร้อมเพรียงตามคำสอนเดิม ความมีสติและความสุขในการเป็นผู้สรรเสริญนั้น เป็นผลจากการมีอุเบกขาและความระลึกได้ ซึ่งทั้งหมดนี้เชื่อมโยงกับความรู้ตัวและความสบายใจ ผู้ที่มีคุณสมบัติเหล่านี้จะได้รับการยอมรับและการสรรเสริญในสังคม ให้เข้าใจถึงความสำคัญและพลังของการมีสติในทางปฏิบัติทางจิตใจ.

หัวข้อประเด็น

-การสรรเสริญในพระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของอุเบกขา
-สติและสัมปชัญญะ
-บทบาทของความสุขในชีวิต
-คุณค่าของการเป็นผู้สรรเสริญ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสัมมาปฏิภาณภาค ๑ หน้าที่ 283 ถามว่า " ถ้าเพราะเหตุใด พระอริยเจ้าเหล่านั้น จึงสรรเสริญ บุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยตติยามนั่นไว้อย่างนั้น ?" ก็ว่า " เพราะเป็นผู้ที่อาสาสรรเสริญ." จริงอยู่ เพราะพระโโย นี้ เป็นผู้มีความวางเฉยในตติยามน ซึ่งมีความสุขอันหวานไงยินดีเท่า ที่ถึงฝังแห่งความสุขแล้วก็ตาม หากู ความใครในสุขวร่าไปในตติยามนได้ไหม และชื่อว่าเป็นผู้สรรเสริญเพราะ เป็นผู้มีสติตั้งมั่น โดยอาการที่จะเกิดขึ้นไม่ได้ และเพราะท่านได้ เอาสวความสุขอันไม่ครำพอง ที่เป็นอธิษฐานบัต และอธิษฐานอันสองเสพ แล้วนั้นเอง ด้วยนามภาย. ฉะนั้น จึงเป็นผู้ที่อาสาสรรเสริญ. พิธีทราบสนิทฐานว่า " เพราะเป็นผู้ที่อาสาสรรเสริญ พระอริย- เจ้าที่หลาย เมื่อจะประกาศฅนที่เป็นเหตุอันสนควรรสรรเสริญเหล่านั้น จึงสรรเสริญบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยตติยามนั่น อย่างว่า เป็นผู้มอบกบา มิตติ อยู่เป็นสุข." ดังพรรณามาแล้ว บทว่า ตติย คือเป็นที่ ๑ ตามลำดับแห่งการคำนวณ. มานี้ ชื่อว่า ที่ ๑ เพราะวา พระโโยวารบรรรสังศูรณ์ที่ ๑ ดังนี้บ้าง. [ คติยานมืองค์ ๔ คติยานมืองค์ ๕ ] ในคำว่า " อานนท์ " นี้ พึงทราบวินิจฉัยว่า คติยานมืองค์ ๔ ด้วยองค์ทั้งหลายมีย้อมสปะทะเป็นต้น ฉันใด คติยานนี้ก็ยามองค์ ๔ ด้วยองค์ทั้งหลายมีย้อมกบาเป็นต้น ฉันนั้น เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระ ภาคัตตรสั่วว่า " อุเบกขา ( ความวางเฉย ) สติ ( ความระลึกได้) สัมปชัญญะ ( ความรู้ตัว ) สุข ( ความสบายใจ ) เอกคตาแห่งจิต
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More