ประโยค(ฎ) - ปฐมสัมมาปฏิทินากาแปล ภาค ๑ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 245
หน้าที่ 245 / 409

สรุปเนื้อหา

ข้อความนี้กล่าวถึงการพิจารณาของพระพุทธเจ้าต่อกรรมและการไม่กระทำที่เกิดขึ้นในโลก โดยมีการอ้างถึงการถือเอาของที่เจ้าของไม่ให้และการกระทำที่ไม่ถูกต้องตามธรรม ในการสอนให้เห็นถึงการเจริญในพระพุทธศาสนา รวมถึงการกล่าวถึงแนวทางที่ถูกต้องในการดำเนินชีวิตและการหลีกเลี่ยงทุจริตต่างๆ ซึ่งพระผู้มีภาคเจ้าทรงมองเห็นว่าสิ่งเหล่านี้ถือเป็นส่วนสำคัญของการดำรงชีวิตและการเข้าถึงความสุขที่แท้จริง

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธเจ้า
-กรรม
-การไม่กระทำ
-ธรรม
-ความโลภ
-มโนทุจริต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ฎ) - ปฐมสัมมาปฏิทินากาแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 240 พระองค์ จึงทรงรับรองบรรยายอื่นอีก พราหมณ์ พิจารณาเห็นการไม่กระทำกรรมนี้อาจสำหรับ สกุล มีการกราบไหว้เหล่าผู้เจริญขันธ์เป็นต้น ที่ประชาชนชาวโลก ทำกันอยู่ในโลก จึงกล่าวพระผู้มีภาคเจ้าอีกว่า " พระโคดม ผู้เจริญ เป็นผู้กล่าวการไม่กระทำ" แต่พระผู้มีภาคเจ้าทรงพิจารณา เห็นการกล่าว การไม่กระทำนั้น (มีอยู่) ในพระองค์ เพราะพระองค์ ตรัสการไม่กระทำทุกข์เป็นต้น จึงทรงรับรองบรรยายอีก ก็อดนาถในทำชีวิตสัตว์ให้ตลอดไป ในการถือเอาของที่ เจ้าของเขาไม่ให้และในมิจฉาจาร พิงทราบว่า กายทุจริต ใน บรรดบทเหล่านั้น. เจตนาในการพูดเท็จ การพูดส่อเสียด พูดคำหยาบ และพูดพ้อเจ็บ พิงทราบว่า วิถีทุจริต ความโลภอยากได้ ความ ป้องร้าย ความเห็นผิด พิงทราบว่า มโนทุจริต อุดมสรรค์ทั้งหมด ที่เหลือ เว้นธรรมเหล่านั้นเสีย พิงทราบว่า "อุดมสมบูรณ์อันลามก มีส่วนมิใช่น้อย" [ ràbชมุพราหมณ์กล่าวพระพุทธองค์ว่าเป็นผู้กล่าวการขาดสุข ] พราหมณ์ไม่เห็นกรรมมีการกราบไหว้เป็นต้นนั้นแห ในพระผู้มี พระภาคเจ้า เข้าใจว่า "อาศัยพระผู้มีภาคเจ้านี้ แบบแผนประเพณี ของโลกนี้ ก็จะแก่ขาดสุข" จึงกล่าวพระผู้มีภาคเจ้าอีกว่า " พระ โคดมผู้เจริญ เป็นผู้กล่าวการขาดสุข" แต่พระผู้มีภาคเจ้าทรง พิจารณาเห็นการกล่าวการขาดสุขนั้น (มีอยู่) ในพระองค์ เพราะพระ องค์สาธารณะขาดสุขแห่งร่างกายเป็นไปในการคุณ ๕ ในจิตตูปปอ้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More