ปฐมสมันตปาสาทกแปล ภาค ๑ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 128
หน้าที่ 128 / 409

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการบรรยายเกี่ยวกับธรรมราชและการระบุลำไม้ที่มีอยู่ในคัมภีร์ โดยมีการอธิบายลำไม้สามชนิด ได้แก่ ลดายภูมิ, บุปผภูมิ และ สกุณิญญภูมิ ตั้งอยู่ในสถานที่ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ มีลักษณะเฉพาะตัวและสีสันที่โดดเด่นตามที่อาจารย์ชาวสิงหลได้กล่าวไว้ในคัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง.

หัวข้อประเด็น

- พระบุณฑบูรณาของพระเจ้าทวานนัมปีดิสมหาราช
- ลำไม้และลักษณะเฉพาะ
- คัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง
- การบรรยายของพระอาจารย์ชาวสิงหล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมันตปาสาทกแปล ภาค ๑ หน้าที่ 123 ธรรมราช ทรงเป็นอัฐิธิสาธาร กัน ( สาธาร ที่ไม่เคยพบเห็น กัน ) คือต่อพระบุณฑบูรณาของพระเจ้าทวานนัมปีดิสมหาราช มีไม่ได้๓ ดำ มีประมาณเท่าอัณฑรถ เกิดขึ้นที่อุใม่แห่งหนึ่ง ที่เชิงถาดบรรพต ลำหนึ่งชื่อ ลดายภูมิ ลำหนึ่งชื่อ บุปผภูมิ ลำหนึ่งชื่อ สกุณิญญภูมิ บรรดาไมใผ่นั้น ลำที่ชื่อว่า ลดายภูมิ ( คือ ลำไม้เท่า ) มีสีเหมือนเงินแท้ ลดายภูมิที่เกิดพันต้นไมใผ่นี้ก็ปรากฏมีสีเหมือนทอง ส่วนในลำที่ชื่อว่า บุปผภูมิ ( คือ ลำออผักไม้ ) ก็มีดอกซึ่งมีสีเขียว เหลือง แดง ขาว และดำ ปรากฏขั้ว ใบ และเกสรที่อาเก ไวดี ส่วนในที่ชื่อว่า สกุณิญญภูมิ ( คือ ลำสกุณาชาติ ) ก็มีมุสุกน many ลายหลาก และนกโพธิ์ ( นกคณะ ) เป็นต้น และมีสัตว์๔ เท่านั้นชนิด ปรากฏเป็นเหมือนชีวิตอยู่ แม้สมจริงดั่งที่พระอาจารย์ชาวสิงหล กล่าวไว้ในคัมภีร์ที่ปวงคว้า " ไม่ไผใ๔ ลำ ได้มีแล้วที่เชิงเขาชื่ออาทตะ ลำที่เป็นเทา มีสีขาวและงามเหมือนสีทอง ปรากฏอยู่ที่ลำต้น สิงงิณ ดอกสีเขียวเป็นต้น มีอยู่เช่นใด ดอกเช่นนั้น ก็ปรากฏอยู่ในลำดอกไม้ สกุณาษิตหลายหลาก ก็จับกันอยู่ที่ลำคุณชาติ โดยรูปของตนเอง." ๑. ราชกฤษฎี เป็นปฐมวิภัตติ ลงในอรรถสัทวัตติ น้องอรรถโยนนา/๖๐.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More