ความประพฤตทุจริตและพระอริยะเจ้าทั้งหลาย ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 322
หน้าที่ 322 / 409

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับความประพฤตทุจริตที่เกิดจากการกระทำทางกายซึ่งถือว่าเป็นอันตราย นอกจากนี้ยังพูดถึงความผิดพลาดในการมองเห็นธรรมของสัตว์ โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพระอริยะเจ้าพระพุทธเจ้าและสาวกที่ถูกตีตราว่าเป็นผู้ที่มีความเห็นผิด บุคคลที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพระอริยะเจ้าจึงต้องถูกพิจารณาอย่างรอบด้านว่าเป็นการทำร้ายธรรม ซึ่งถือเป็นกรรมที่ห้ามหา เช่นเดียวกับการกระทำผิดที่ส่งผลต่อคุณค่าของการดำเนินชีวิต ซึ่งควรตระหนักถึงความสำคัญในการรักษาธรรมะและหลีกเลี่ยงความเห็นที่ผิดในชุมชนทางศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ความประพฤตทุจริต
-พระอริยะเจ้า
-ความเห็นผิด
-การกระทำทางกาย
-การรักษาธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปรโยค(ค) - ปฐมสมันตปาตาแปลภาค ๑ - หน้า 317 ความประพฤต shower หรือความประพฤติเสียหาย เพราะมีโลลเป็น ความเสียหาย เพราะเหตุนี้ จึงชื่อว่า ทุจริต ความประพฤตชั่ว ทางกาย หรือความประพฤติชั่วที่เกิดจากกาย เพราะเหตุนี้ จึงถือว่า กายทุจริต แม้ววิธีจริง และมิให้ภราดรบุญ ซิอรบทราบดังนี้นะ บทว่า "สมุหนต" แปลว่า เป็นผู้พร้อมเรือง [ การค่าพระอริยะเจ้าหญิงวรรณ์และห้ามมรรค ] สองนว่า "อริยานูปภาพ" ความว่า สัตว์ทั้งหลาย ผู้มี ความเห็นผิด เป็นผู้ใคร่ชั่วความฉิบหายใช้ประโยชน์ กล่าวไว้ สร้าง มีคำอธิบายว่า คำทอ คีติเตียนพระอริยะเจ้าทั้งหลาย คือพระพุทธเจ้า พระ ปัจจเจกพุทธเจ้า และพระสาวกของพระพุทธเจ้า โดยที่สุด แม้ครหัสด์ ผู้เป็นพระโสดาบัน คำอธิบายวัด หรือคำอธิบายเสียเช่นนี้คุณ. ในการกล่าวไช้ร ๒ อย่างนั้น บุคคลผู้กล่าวว่า "สมณ- ธรรมของท่านเหล่านั้น" ไม่มี ท่านเหล่านั้น ไม่ใช่สมณะ ดังนี้ พิพากษาว่า "ชื่อว่านำคำไช้รด้วยอัติมวตฺ" บุคคลผู้กล่าวว่า "ชูบาลี วิลมกฎีดี มรรคกฎีดี ผลกฎีดี ของท่านเหล่านั้น ไม่มี " ดังนี้ พึงราว่า "ชื่อว่านำคำไช้ร ด้วยอัติมวตฺซึ่งบุคคล กีฐี นั้นนั่งกล่าวไช้รทั้งที่รู้ตัวอยู่ หรือไม่รู้ตัวตาม ยอมชื่อว่า เป็นผู้กล่าว ไช้รพระอริยะเจ้าแท้ แม้โดยประการทั้งสอง กรรม (คือการกล่าว ไช้รพระอริยะเจ้า) เป็นกรรมนหนัก เป็นทั้งสังขารคาวรณ์ (ห้ามสุรรค์) ทั้งงั้มคาวรณ์ (ห้ามมรรคร).
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More