ปฐมสัมผัสดาปสัททานแปล ภาค ๑ - หน้า 307 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 312
หน้าที่ 312 / 409

สรุปเนื้อหา

บทนี้อธิบายถึงความสำคัญของวิชาและอวิชชาในพระพุทธศาสนา รวมถึงการให้ความหมายของคำว่า 'วิชา' และ 'อวิชชา' โดยระบุว่าเมื่อมีวิชาเกิดขึ้นแล้ว อวิชชาที่ปิดบังจะถูกทำลายลง ทำให้เกิดความรู้แจ้งในเรื่องบุพเพนิวาส การอภิปรายเน้นถึงความมืดหรือโมหะที่ไม่ให้เกิดการรู้แจ้งและความสว่างที่ทำให้สามารถเห็นความจริงได้ชัดเจน บทสรุปนี้ช่วยให้เข้าใจถึงกระบวนการเรียนรู้และการเข้าถึงความรู้ในทางพุทธศาสนาได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของวิชา
-อวิชชาและผลกระทบ
-การรู้แจ้งในพระพุทธศาสนา
-การตีความคำสอนเมื่อก่อน
-การเปรียบเทียบวิชาและอวิชชา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสัมผัสดาปสัททานแปล ภาค ๑ - หน้า 307 นัน ๆ ทั้งหมดคี่เดียว ในเบื้องตำรึบนในโภคับเป็นอันมาก ด้วยลำดับขึ้นบ้าง ด้วยอำนาจจิตและปฏิสนธิบ้าง ด้วยอำนาจการก้าวไปดูราญสิงบ้าง ในคำว่า "อยิโมมุพรามมุณ" เป็นต้น มิวินิจฉดังนี้:- ว่า เม คือ มยะแปลว่า อันเรา ความรู้แจ้ง ท่านเรียก ว่า วิชา เพราะอธรวดว่า ทำให้รู้แจ้ง ถามว่า "ยอมทำให้รู้แจ้งอะไร?" แกว่า "ยอมทำให้รู้แจ้ง ซึ่งบุพเพนิวาส" โมหะที่ปกปิดวิชชานั้น ท่านเรียกว่า อวิชชา เพราะอธรวดว่า เป็นเหตุทำไม่ให้รู้แจ้งซึ่งบุพเพนิวาสันนั้นแน่. โมหะนันเอง ท่าน เรียว่า ตมะ (ความมืด) ในบทว่า ตมุเพราะอธรวดว่า ปิด วิชชานั้นนั่นเอง ท่านเรียกว่า อโลโก ในบทว่า "อโลโก" เพราะ อธรวดว่า ทำแสงสว่าง. ก็บรรดาบทเหล่านี้ ในบทว่า "วิชชา อธิทิต" นี้ มืออธิบายเท่านี้ คำที่เหลือ เป็นคำกล่าวสรเสริญ. ส่วนในบททั้ง ๒ ว่า "วิชชา อธิทิต อวิชชา วิญญ" นี้มี โฆษณาว่า "วิชชานี้แล้ว เราได้บรรลุแล้ว อวิชชา อันเราปู่ได้บรรลุ วิชชานั้น กำจัดได้แล้ว, อธิยบายว่า "ให้พินาศแล้ว." ถามว่า "เพราะเหตุไร?" แกว่า "เพราะเหตุนี้วิชชาเกิดขึ้นแล้ว." ในบททั้ง ๒ (คือ ตม วิถโต อโลโก อุปปนโน) แม้นอก นี้ ก็มีนัยนี้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More