ปฐมสงฆ์ปาฐกถาเทศนา ภาค ๑ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 213
หน้าที่ 213 / 409

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการฝึกฝนที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนำให้กับผู้ที่พร้อมจะรับการฝึก โดยเน้นที่ความเข้าใจในอรรถพระสูตรและการสอนพุทธ จากแหล่งอ้างอิงทางพระธรรมที่มีความละเอียดในความหมาย จากพระสูตรที่ใช้คำเช่น 'อนุตตโร ปรสิทธุมสารกิจ' ที่สถานภาพการฝึกในสัจธรรม...

หัวข้อประเด็น

-การฝึกของพระพุทธเจ้า
-การสอนธรรมให้คนเข้าใจ
-อรรถบทของพระสูตร
-ความหมายในคำสอนของพระพุทธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ปฐมสงฆ์ปาฐกถาเทศนา ภาค ๑ - หน้าที่ 208 ทันทพราหมณ์เป็นต้น อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงฝึกแล้ว แล้วมนุษย์ ผู้ชาย มือสาวกิ้มกิ้ม ขจีโลมกิ้ม ขจีโลมกิ้ม และท้าวสักกเทวราช เป็นต้น อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงฝึกแล้ว คือทรงแนะนำแล้ว ด้วย อุปายเครื่องแนะนำอย่างวิจิตร ก็ในอรรถนี้ควรฉงหวังพระสูตรนี้ให้พิสดาร ดังนี้ " คุุณก่อนนายเกลี! เราอ้อมฝึกบูรพผู้จะฝึกได้ ด้วยอุบายละเอียด บ้าง หายบ้าง ทั้งละเอียดทั้งหยาบบ้าง." อีกอย่างหนึ่ง สองบทว่า " อนุตตโร ปรสิทธุมสารกิจ " นี้ รวมเป็นอรรถบทเดียวกันก็ได้. จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้ายังบรูู ผู้ควรจะฝึกได้ให้แจ้งไป เปมืองอย่างพระพุทธเจ้าหลายประทับนั่ง อยู่โดยบัลลังก์เดียวเท่านั้น ทรงแผนไปได้ไม่มีขัดตลอดทศทั้ง ๕. ฉะนั้น เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า บันทิตังครีกย่อว่า " อนุตตโร ปรสิทธุมสารกิจ" (เป็นสาระผู้ฝึกบูรพที่พอจะฝึกได้ไม่มีผู้ยิ่งกว่า). ก็ในอรรถนี้ ควรยังพระสูตรนี้ให้พิสดารดังจีนว่า " คุุณก่อนภิกษุ ทั้งหลาย ! ชั้นตัวควรฝึกได้ อนันความช่างไสไปแล้ว ย่อมวิ่งไปสู่ ทิศเดียวกันนั้น". [ อรรถาธิบายพระพุทธคุณว่า สุตกา ] พระผู้พระภาคเจ้าครั้งนั้น ทรงพระนามว่า สุตกา (เป็น พระศดา) เพราะอรรถวิเคราะหว่า ทรงสั่งสอน (สรรพสวัสดิ์) ด้วยประโยชนปัจจุบัน ด้วยประโยชน์หน้า และประโยชน์อย่างยิ่ง ตามสมควร อีกอย่างหนึ่ง ก็ในบทว่า " สุตกา " นี้ พึงทราบใจ ๑. องฺ. ฉุฎกฺ ๒๕๔. ๒. ม. อุ. ๔๕/๓๒.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More