วิสุทธิมรรค ตอน ๒ - อวิตกฺก์ อวิจาร วิสุทธิมรรคแปล ภาค 1 ตอน 2 หน้า 168
หน้าที่ 168 / 324

สรุปเนื้อหา

บทนี้อธิบายถึงลักษณะของจิตในฌานที่ไม่มีความตรึกตรองหรือวิตกและอวิจาร ตามปาฐะในวิสุทธิมรรค โดยชี้แจงว่าทุติยฌานมีความสงบและไม่มีการวิเคราะห์ ว่าแม้จะมีการกล่าวถึงวิตกวิจารก็เป็นไปตามภาวะของจิตซึ่งเกินจริงความคิดและความนึกคิดได้อย่างไร ในส่วนนี้มีการตอบโจทย์เกี่ยวกับคำประกาศนี้ว่าเป็นความสำเร็จอยู่ในปาฐะทั้งสองที่อธิบายถึงอวิตกฺก์ อวิจารอย่างประณีตเพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจขั้นตอนในการพัฒนาฌานอย่างลึกซึ้ง

หัวข้อประเด็น

-สภาวะจิตในฌาน
-อวิตกฺก์ อวิจาร
-การพัฒนาฌาน
-การตรึกตรองในฌาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒ - หน้าที่ 166 ความตั้งอยู่แห่งจิตอันใด ฯลฯ สัมมาสมาธิอันใด อันนั้นชื่อ เจตโส เอโกทิภาวะ" ดังนี้เท่านั้น ก็แลคำพรรณนาความ (แห่งปาฐะทั้ง สองนี้) อย่างใดไม่ผิด เทียบเคียงกันได้ และลงกันได้แน่ ๆ กับวิภังค ปาฐะที่กล่าวมาดังนี้นั้น ก็พึงทราบอย่างนั้นเถิด [ แก้ อวิตกฺก์ อวิจาร์ ] ปาฐะว่า อวิตกก์ อวิจาร มีอรรถาธิบายว่า ความตรึกไม่มี ในทุติยฌานนั้น หรือว่า แก่ทุติยฌานนั้น เพราะความตรึกนั้นละไป แล้วด้วยภาวนา เหตุนั้นทุติยฌานนั้นจึงชื่อ อวิตักกะ ( ไม่มีความตรึก ) ที่ชื่อว่าอวิจาระ ( ไม่มีความตรอง) ก็พึงทราบ โดยนัย เดียวกันนี้ แม้ในวิภังค์ก็กล่าวไว้ว่า " ทั้งวิตกและวิจารนี้เป็นธรรม สงบระงับดับไปแล้ว ตกลับไปแล้ว เสื่อมหายไปแล้ว เหือดแห้ง ไปแล้ว ถูกทำให้สุดสิ้นไปแล้ว เหตุนั้น ฌานนี้จึงเรียกว่า อวิตักกะ อวิจาระ " ดังนี้ ในข้อนี้มีปัญหาว่า " ก็ความข้อ (ที่ว่า ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารนั้นละไปแล้วด้วยภาวนา) นี้ ก็เป็นอัน ( ได้ความ ) สำเร็จแม้ด้วยปาฐะว่า วิตกวิจาราณ์ รูปสมา ( เพราะวิตกวิจารระงับ ไป ) นี้แล้วมิใช่หรือเมื่อเป็นเช่นนั้น ไฉนจึงตรัสคำว่า อวิตกก อวิจาร์ ( ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร ) อีกเล่า ? " ขอเฉลยว่า " ความข้อนี้เป็นอันสำเร็จแล้วด้วยปาฐะที่ว่าอย่าง )นั้นได้ส่องถึงแต่ นั้นแท้ แต่ทว่า คำ ( ว่า วิตกกวิจาราณ์ รูปสมา )นั้นไ ความ ( ที่ว่าไม่มีวิตกวิจารเท่า ) นั้นไม่ เราได้กล่าวแล้วมิใช่หรือว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More