วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒ - หน้าที่ 279 วิสุทธิมรรคแปล ภาค 1 ตอน 2 หน้า 281
หน้าที่ 281 / 324

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาส่วนนี้พูดถึงรายละเอียดเกี่ยวกับคำศัพท์ในวิสุทธิมรรคและการอธิบายถึงพระภาคุยวา ซึ่งถือเป็นลักษณะที่ทำให้พระองค์เป็นที่เคารพนับถือ ในขณะเดียวกันก็มีการวิเคราะห์ในเรื่องของนิรุติลักษณะและการนำเสนอที่สละสลวย เพื่อเป็นการเชื่อมโยงระหว่างภาษาและความหมายที่ลึกซึ้ง โดยถ่ายทอดความรู้ทางศัพทศาสตร์ที่สามารถทำให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสำคัญของพระบารมีทางจิตวิญญาณที่พระองค์มี.

หัวข้อประเด็น

-หลักการทางภาษาศาสตร์
-พระภาคุยวาและความหมาย
-การวิเคราะห์นิรุติลักษณะ
-การใช้ศัพท์ในวิสุทธิมรรค
-ภควาและบทบาททางจิตวิญญาณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒ - หน้าที่ 279 ( ภเคชิ ยุตฺโต ) ผู้ประกอบด้วยภคธรรม ทั้งหลาย ลาย เป็น ( วิภตฺตวา ) ผู้จำแนก เป็น ( ภตฺตวา ) ผู้คบ” เป็น ( ภเวสุ วนฺตคมนะ ) ผู้คายความไปในภพทั้งหลายเสียแล้ว เพราะ เหตุนั้นจึงทรงพระนามว่า ภควา (แก้บท ภาคุยวา] ในบทเหล่านั้น บัณฑิตพึงทราบว่า ท่านถือนิรุติลักษณะ (คือลักษณะภาษาที่จะเปล่งออกมาให้เสนาะหู และสะดวดปากด้วย) มีลักษณะว่า "วณฺณาคโม วณฺณวิปริยาโย ลงอักษรใหม่ ย้าย อักษร" เป็นต้น หรือถือเอาลักษณะคือการรวมเข้าในชุดศัพท์มี ปิโสทรศัพท์เป็นอาทิ (คือทำอย่างปิโสทรศัพท์เป็นต้น) ตามนัยแห่ง ศัพทศาสตร์ เมื่อน่าจะเรียกว่า พระภาคุยวา เพราะพระองค์ทรงมี พระภาคยะ คือ พระบารมี มีทานและศีลเป็นต้น อย่างเยี่ยมยอด อันสามารถยังความสุขทั้งที่เป็นโลกิยะ ทั้งที่เป็นโลกุตตระให้บังเกิดได้ (แต่ ) เรียกเสียว่าพระภควา [แก้บท ภคควา] อนึ่ง เพราะเหตุที่พระองค์ได้ทรงหักเสียแล้ว ซึ่งกิเลสทำความ กระวนกระวายและเร่าร้อน ( แก่สัตว์ทั้งหลาย )ทั้งสิ้น นับด้วย แสนประเภท ๑. ภคควา วิกฤตวา ๒ ศัพท์นี้ลง ตวนๆ ปัจจัยกิริยากิตก์ ไม่ใช่ วนตุปัจจัย ตัทธิต ๒. เคยพบในหนังสือเก่าเขียนไว้ว่า "พระผู้มีพระภาคย์" น่าจะเขียนตามนัยนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More