ปฏิทินสมณาปฏิทินสากล ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 44
หน้าที่ 44 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าและการตีความเกี่ยวกับพระสุทิน โดยเน้นถึงความสำคัญของคำว่า 'อตุมมิ นิเทนนิ อตุมมิ ปกเจน' ซึ่งแสดงให้เห็นถึงกรรมและผลของมัน การสนทนานี้ให้ความรู้ถึงคุณและโทษของบุคคลตามที่พระองค์ตรัส เรื่องราวเชื่อมโยงไปยังการทำความดีและการรู้จักคุณค่าของบุคคลที่ควรได้รับการชมเชยในสังคม พระสุทินนั่นเป็นตัวอย่างที่ดีของเรื่องนี้

หัวข้อประเด็น

-พระผู้มีพระภาคเจ้า
-พระสุทิน
-ศีลและกรรม
-คุณและโทษของบุคคล
-การรู้จักคุณค่าของคนในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(คง) - ปฏิทินสมณาปฏิทินสากลหน้า 44 [พระผู้มีพระภาคเจ้าตำ นินทพระองค์] พิงทราบวินิจฉัยในคำว่า "อตุมมิ นิเทนนิ อตุมมิ ปกเจน" นี้ ต่อไปนี้:- ความละเมิดคอาจของพระสุทินนั่น พิงทราบว่าท่าน กล่าวว่าเป็นนิทานและเป็นปฐม เพราะเป็นเหตุแห่งกรรมอัตติสกิลา จริงอยู่ เหตุ ท่านเรียกว่า "นิทานและปกรณ์" เพราะเป็นที่นอักให้ คือมอบให้ซึ่งผลงแตดนเหมือนซ้ำ "เชิญถือเอผลนั้นเกิด" และเพราะ เป็นเหตุเริ่มทำ คือปรารถน้องจะทำผลนั้น หรือว่าจะทำผลนั้นก็เดียว หลายบว่า วิคฤติ พุทโธ ภคว มีความว่า พระผู้พระ- ภาคเจ้า ทรงตี คือรถตำนาน(พระสุทินนั่นน) เหมือนอย่างบุคคล ผู้เลิก เมื่อจะแสดงคุณและโทษของชนทั้งหลายสมควรแก่คุณและโทษ ก็ฉะนั้นเช่นกัน จริงอยู่ เพราะทรงเห็นบุคคล ผู้ทำการคั่งคละมะดิศัล ความคิด ย่อมไม่เกิดขึ้นแค่พระองค์ว่ากว่า "ผู้นี้เป็นคนปรากฏโดยชาติ หรือ โดยโคตร หรือโดยความเป็นบุตรของมนุสสก หรือโดยคณนะ (ค้นะ พระคันธกรี) หรือโดยองค์อัตตะ เป็นผู้แน่ เป็นสมควรที่จะรำบกบุคคล เช่นนี้ไว้" เพราะทรงเห็นบุคคลผู้มีคุณสมดีคืดเป็นที่รัก จิตที่ควรจะปีดบังคุณ ของเขา จะได้เกิดขึ้นมาไม่ได้เลย อันที่จริง พระองค์อัผตรมทรงบังบุคคลซึ่ง ควรติท่านั้น ย่อมทราบชมบุคคลซึ่งควรชมเท่านั้น และพระสุทินนีนี้ เป็นผู้สมควรดี เพราะเหตุั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงดำรงอยู่ใน ลักษณะของผู้งที่ มีพระฤกษ์ทัยไม่ล่ำล้อย ได้ทรงจัดพระสุทินนั่น ด้วย พระพุทธดำรัสว่า "อนุอุตฉวิ" เป็นอทิตย์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More