ความเข้าใจในพระวินัยและกรรมฐาน ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 83
หน้าที่ 83 / 404

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้กล่าวถึงความสำคัญและความยากลำบากในการบรรพชา การปฏิบัติตามพระวินัยและกรรมฐานที่สำคัญ รวมถึงความมุ่งมั่นในการพัฒนาจิตใจเพื่อบรรลุธรรม ซึ่งเป็นแก่นแท้ของการปฏิบัติในพระพุทธศาสนา, โดยระบุถึงการวิเคราะห์ภิกษุและการทำตามคำสั่งของพระเทรนั่นและภิกษุอื่น ๆ เพื่อสร้างความเข้าใจและภาวนาอย่างถูกต้อง. ผลจากการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอจะนำไปสู่การศึกษาจิตและการบรรลุธรรมที่บริสุทธิ์

หัวข้อประเด็น

-การบรรพชา
-พระวินัย
-กรรมฐาน
-การฝึกจิต
-การบรรลุธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ปฐมสัมปทานปกกานเปล่า ภาค 2 - หน้าที่ 83 ท่านดูดิ่ด. "แม่เป็นพระเทรนั่นวิจฉัยว่า "เป็นสตรีกิจจา" ก็ควรบอกเธอว่า "คือสม, เธอจงทำตามคำของพระเทรนั่นให้ดีเทียว." ถ้ามีพระเทรลผู้เสียนร่วมกัน ของเธอไม่มีไ่ช่, มีแต่ญาณผู้เป็นอันเตวสิกนั่น ด้วยสังว่า "เธอจงไปถามภิกญุหนุ่มโน้นดูดีติ." แม่เมื่อภิกษุผู้เป็นอันเตวสิกนั่น วิจฉัยว่า "เป็นสตรีกิจจา" ก็ควรพูดเธอว่า "คือสิ, เธอจงทำตามคำของภิกษุนั้นให้ดี. ถ้าฉายปาราชิกนั่นแล ปรากฎแก่ภิกษุหนุ่มใช่รุ?" [ภิกษุผูมนี้ไม่ปรารถนาทิฏฐิ กรรมฐานอ่อนไม่เจริญ] จริงอยู่ ความบังเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้า เป็นของได้ดูขอยก, การบรรพชาและการอุบาสนา เป็นของได้ด้วยยากยิ่งกว่านั้น. แต่พระวินัย ควรพูดอย่างนี้ว่า "เธอ งงปิดกดโอกาสที่เสียงดัง แล้วนั่งพักกลางวัน ชาร์ศิลาไม้รุทธิ จงมนัสการอากาศ ๒๓ คู่อณ." ถ้าศาลของภิกษุนั้น ไม่ศราหงดง่ำพร้อมใช่, กรรมฐานอ่อนสบต่อ, สังขารทั้งหลาย ก็เป็นของปราธยัชน์ขึ้น, จิตก็เป็นอึกคตา ดูได้. บรรลุอรฺปะและอัปปสมาธิซึ่งนั้น, ถึงวันจะล่วงเลยไปแล้วก็ด้ตาคุณเธอไม่ทราบ. ในเวลาล่วงเลยไป เธอมาเข้าสู่ปฏิรูปแล้ว ควรพูดอย่างนี้ว่า "ควรเป็นไปแห่งจิตของเธอ เป็นเช่นไร? ก็เมื่อเธอบอกความเป็นไปแห่งจิตแล้ว ควรพูดเธอว่า "ฉันชื่อว่าวรพรรษา มีความบริสุทธิ์แห่งจิตเป็นประโยชน์, เธออย่าประมาณ บำเพ็ญสมาธิธรรมเกิด." ส่วนภิกษุใด มีสัจจะ, กรรมฐานของภิกษุนั้น ย่อมไม่สับสน, จิตย่อม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More