การตีความคำว่าเปรตในพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 367
หน้าที่ 367 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงคำว่า 'เปรต' ในบริบทของพุทธศาสนา โดยบรรยายว่าคำนั้นไม่เป็นอาบัติ และมีความสัมพันธ์กับการถือเอาของและความหวาดระแวงต่างๆ ในชีวิต โดยมีการยกตัวอย่างต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์และสิ่งของในศาสนา พร้อมอธิบายถึงการกระทำที่ควรทำและไม่ควรทำ ในกรณีที่เกี่ยวกับการถือเอาของในทางศาสนา อันมีผลต่อประโยชน์และกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

หัวข้อประเด็น

-การตีความคำว่าเปรต
-บทบาทของเทวดา
-อาบัติในศาสนาพุทธ
-การถือเอาของในพุทธศาสนา
-การกระทำที่ควรควรนำมาพิจารณา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคที่ 3-1 ปฐมสมันปลาสักภาแปล ภาค 2- หน้าที่ 367 อัตภาพนั้นเองก็ดี เทวดาทั้งหลาย มีเทวดชั้นจาดมาราชิกเป็นต้น ก็ดี ทั้งหมดก็ดังความนับว่า "เปรต" ทั้งนั้น ในคำว่า "เปตร-ปรกุหะ" นี้ ไม่เป็นอาบัติ ในเพราะของหวงแหนของปฐนเหล่านั้น จริงอยู่ ถ้แม้ท้าวสักกาารชประกันบังคับร้ายของร้านขายของ และภักผู้ "อย่าถือเอา ๆ" ก็ถือเอาผ้าสกุลกุ้มแม้มีราคาตั้งแสน เพื่อประโยชน์ แก่อวีรวของตนไป การถือเอาของกุ้มนี้ ย่อมควร ส่วนในผ้าสกุลที่คนทั้งหลายทำลาภกรรมอุปถัมภ์ทอง ล่องไว้ที่ต้นไม้เป็นต้น ไม่มีกำอะไรจะพูดถึงเลย บทว่า ติฏฐานุ คตปรกุหะ ได้แก่ ไม่เป็นอาบัติ ในเพราะของ หวงแหนแม้วของสัตว์วัฏฏาน ก็แม้ถ้าขวนาค หรือสุขบรรณ์-มาณพ จำเลยกายเป็นมนุษย์ ออกสินขาขายของอยู่, และมีกุูบูญ รูป ไปถือเอาสิ่งของของพญานาคหรือของสุปบรรมานพัน. จากร้านขายของนั้นไป โดยนัยก่อนนั้นแปล, การถือเอาของกุ้มนี้ ย่อมควร. ราชสีห์ หรือเสือโคร่งมาสัตว์มีเนื้อและกระบือเป็นต้นแล้ว ยังไม่เคยอา กิน ถูกความจำมียึดมั่น. ไม่พึงห้ามในตอนต้นนี้ดีเอง, เพราะว่า มันจะพึงหาแม้ความฉิบหายให้. แต่ถ้ามีดังนี้อาจิณไปได้สักหน่อยหนึ่ง แล้ว ก็ทูลสามารถห้ามได้ จะห้ามแล้วถือเอาก็ควร. แม้จำพลนก มีเหยี่ยวเป็นต้น คาบเอาเหยื่อแล้วบินไปอยู่ จะทำให้มันทิ้งเหย่อให้ตก ไปแล้วถือเอาก็ควร ๑. ศิลาจารึกที่นิว่า เกิดแล้วในศรีระที่ตายแล้วนั้นเอง อ้างเรื่องเปรต หิวสาวก ในวินวัตดู วันยังปฤกษ มหาวงค์ ภาค ๑/๑๐๔
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More