ปฏิสนธิสมบัติสกัดกั้นภาค ๒ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 45
หน้าที่ 45 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงกรรมที่ไม่เหมาะสมกับธรรมและการปฏิบัติของสมณะ โดยชี้ให้เห็นว่าการทำกรรมที่ไม่สมควรแทบจะเป็นของที่ขัดแย้งกับความเป็นธรรมที่ถูกต้อง และความสำคัญของการทำกรรมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตทางธรรม ในการศึกษาเกี่ยวกับธรรมและกรรมควรพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อไม่ให้ผิดจากหลักธรรมที่แท้จริง. ขยายความเกี่ยวกับกรรมที่ไม่ถูกต้องและการเป็นสมณะว่าสิ่งเหล่านี้มีผลกระทบอย่างไรต่อการปฏิบัติและการหลุดพ้นจากทุกข์.

หัวข้อประเด็น

-กรรมที่ไม่สมควร
-ธรรมที่ถูกต้อง
-การเป็นสมณะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฏิสนธิสมบัติสกัดกั้นภาค ๒ - หน้า 45 [อรรถาธิบายธรรมที่ไม่ควรแก้สมบะเป็นต้น] ในคำว่า "อนุปุโลมวิจัย" เป็นต้นนั้น มีกรรมพรรณาเนื้อความ ดังต่อไปนี้:- "คู่ค่อนโมมโนบูรณ์ คือคนปล่า! กรรมที่เธอทำแล้วนั้น ไม่สมควรแก่ธรรมอันทำความเป็นสมธะ หรือแก่กรรมผลภิพานและ คำสอน คือไม่เป็นไปตาม ได้แก่ไม่คล้อยไปตามผิว คือความเปลี่ยนเปลื่อง ได้แก่ความงามแห่งธรรมเหล่านั้น โดยที่แท้ เป็นกรรมในภาวธรรม เหล่านั้นที่เดียว ก็เพราะความเป็นของไม่สมควรนั้นเอง กรรมนี้จึงชื่อ ว่าเป็นของไม่ถูกต้อง คือไม่อนุโลมแก่ธรรมเหล่านั้น โดยที่แท้ เป็น กรรมตรงกันข้าม คืออยู่ในความเป็นข้าศึกกัน เพราะความเป็นขอ ไม่ถูกต้องนั้นแล กรรมมันจึงจัดเป็นกรรมไม่เหมาะ คือเป็นกรรมสมกัน คล้ายกัน, ถูกส่วนกัน หามได้ โดยที่แท้ เป็นของไม่คล้ายกัน ไม่ถูก ส่วนกันที่เดียว ก็เพราะความเป็นของไม่เหมาะนั่นแล กรรมมันจึงว่า ไม่ใช่กรรมของสมณะ คือไม่เป็นกรรมของพวกสมณะ เพราะข้อไม่ เป็นของสำหรับสมณะ กรรมนี้จึงจัดเป็นอัปปะ จึงอยู่ กรรมใด ไม่ใช่กรรมของสมณะ: กรรมนี้ ย่อมไม่สมควรแก่ธรรมเหล่านั้น เพราะข้อก็เป็นอัปปะ จริงอยู่ กรรมใด ไม่ใช่กรรมของสมณะ: กรรมนี้ ย่อมไม่ทำกรรมั้น. แต่กรรมนี้นั่น อันเธอทำแล้ว, คู่ค่อนโมมบูรณ์! เพราะเหตุั้น กรรม อันไม่สมควร ไม่ถูกต้อง ไม่เหมะ ไม่ใช่ของสมณะ เป็นอัปปะ ไม่ควรทำ ชื่อว่าอัณเฑระทำแล้วแดด." คำว่า กัล เท นาม มีความว่า เพราะเหตุชื่ออะไรล่ะ? มีคำ อธิบายว่า "ท่านเล็งเห็นเหตุชื่ออะไรล่ะ?"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More