ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๓- ปฐมสมันต์ปลาสติกาแปล ภาค ๒- หน้าที่ 114
"อยู่ชู ปฏิญญ คิดดีมี
มนสิกลโร" "ตั้งแต่วันนี้ไป ขอท่านจงทำใน
ใจข้่าเจ้าว่าเป็นคฤห์สุด" ดังนี้
ก็ดี
หรือกล่าวโดยโวหารของชาวอริยะนะ (คือชาวคศ) หรือโวหารของชาว
มิลักษณะดีดี เมื่อเธอกล่าวเนื้อความนั้นอย่างนี้แล้ว ถ้าผู้ที่ตนบอกเข้าใจ,
สิกขา ก็ย่อมเป็นอนุบกสลา.
ใน ๗ บท มีว่า "อุปเลโก" เป็นต้น แน่ที่เหลือ ก็นี้นั่น.
ก็ ๙ บทเหล่านี้ และ ๑๔ บทเบื้องต้น จึงรวมเป็น ๒๒ บท นี้นะนั่น.
ต่อจาก ๙ บทนั้นไป ท่านกล่าวประวนผล ๑๘ บทเบื้องต้นนั้นและเข้าด้วย
๔ บทเหล่านี้ คือ ออมมฺ ญมฺม, กินฺุมฺม, น มผฺโต, สมุตตา, จิ้ง
เป็น ๕๓บท.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อัล แปลว่า ช่างเกิด, อธิบายว่า
"พอละ."
บทว่า กินฺุมฺม ความว่า ก็จะไรของข้าพเจ้า? คือก็อะไร
ที่ข้าพเจ้า วอทำ ? อธิบ่าว่า "ก็อะไรที่ข้าพเจ้า พึงให้สมวัย"
บทว่า น มผฺโต ความว่า ข้าเจ้าไม่มีความต้องการ.
บทว่า สมุตตา ตัดเป็น สมุทฺโต อะ แล้ว (จากพระพุทธเจ้า),
คำที่เหลือใน ๕๔ บทนี้ มีนอกจากมาแล้วที่เดียว ก็ ๕๔ บท
เหล่านี้ และ ๒๒ บทข้างต้น รวมเป็น ๗๘ บท ท่านว่าไว้โดยสรุป
เท่านั้น ด้วยประกายอย่างนี้ ก็เพราะการบอกกล่าวลักษณอย่างมีได้แม้ด้วยคำ
ไวพจน์แห่งบทอันเป็นแต่เท่านั้น; เพราะฉะนั้น พระมิพระภาคเจ้า