ปฐมมณฑปสาธกาแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 232 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 232
หน้าที่ 232 / 404

สรุปเนื้อหา

ในหน้านี้กล่าวถึงความซับซ้อนของอรรถกถาในศาสนาพุทธ และการแปลความหมายของพระบาลีที่เกี่ยวข้องกับปัญจกะ โดยอธิบายถึงแนวคิดที่มีการตีความอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับอรรถที่สำเร็จได้ด้วยคำสอนในพระบาลี ซึ่งรวมถึงการสำรวจหมวดหมู่ต่างๆ ของอรรถที่มีการกำหนดเป็น 5 หมวดเพื่อให้เข้าใจเนื้อหาที่ละเอียดมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการชี้ให้เห็นว่าปัญจกะแต่ละหมวดมีความสำคัญและขึ้นอยู่กับการตีความอรรถอย่างละเอียด ดังที่แสดงไว้ในหลักการของการศึกษาในวงการศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-อรรถกถา
-ปัญจกะ
-พระบาลี
-ศาสนาพุทธ
-การตีความ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมมณฑปสาธกาแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 232 พระพุทธอย่างนี้ ย่อมเป็นอันพระพุทธินานาปรารถนาแล้วด้วยดี. แต่ในที่นี้ อรรถกถาทั้งปวง ยุ่งยากฟ่านเฝอ มีวิจฉานุเข้าใจยาก. ความจริงเป็นดังนั้น ในบรรดาอรรถกถาทั้งปวง ท่านพระอรรถกถาจารย์รวมองค์แห่งอรรถทั้งหมด แม้พระผู้พระภาคเจ้าตรัสไว้แล้ว ในพระบาลีโดยย่อว่า "ภิฑูอิ้อเอาสิ่งของที่เขาไม่ให้ด้วยอาการ" & อย่างคือกานะที่ผู้อื่นหวังแห่งแล้ว อ... ต้องอาบัติปรากฏ" ดังนี้เป็นต้นในที่มาของ และได้ชี้แนะไว้ในบางแห่ง แสดงไว้ในปัญจกะเดี๋ยว. ในที่บางแห่ง แสดงไว้อย่างปัญจกะ รวมกับองค์ของอรรถทั้งหมดว่ามแล้วว่า "ฉากจากเรา" ด้วยอาการวาง" ดังนี้. แต่ปัญจกะเหล่านี้ ย่อมหาเป็นปัญจกะไม่. เพราะในปัญจกะใดอรรถย่อมสำเร็จได้ด้วยบทธหนึ่ง ๆ ปัญจกะนั้น ท่านเรียกว่าปัญจกะ. คือว่า "ปัญจกะรึ" เป็นดังนี้ อรรถอย่างเดียวเท่านั้น ย่อมสำเร็จได้ด้วยบทธั้งหมด. แต่พาเจ้่งอาจได้ประกาศอรรถ แม้แห่งปัญจกะทั้งมดดที่ข้าเจ้าแสดงรวมไว้เป็น ๕ หมวด ๆ ละ ๕ คะ ให้ดี. [ปัญจกะ ๕ หมวด ๆ ละ ๕ รวมเป็นอรรถ ๒๕] ที่ชื่อว่า ปัญจกะ ๕ คือ หมวดแห่งอรรถ ๕ ที่กำหนดด้วยธนบะต่างกันเป็นข้อดัง ๕ หมวดแห่งอรรถ ๕ ที่กำหนดด้วยภัณฑะ ชนิดเดียวเป็นข้อเด่น ๑ หมวดแห่งอรรถ ๕ ที่กำหนดด้วยอรรถ ที่เกิดแล้วด้วยมือของตนเป็นข้อเด่น ๑ หมวดแห่งอรรถ ๕ ที่กำหนด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More