ปฐมสมันปลาสำคัญแปล ภาค ๒ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 146
หน้าที่ 146 / 404

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้พูดถึงการจำแนกสัตว์และหญิงตามประเภทต่างๆ รวมถึงความสำคัญของมรรครที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ โดยแบ่งแยกออกเป็น ๓๑ มรรคร และการกล่าวถึงภิกษุที่เสพเมถุนโดยมีการปฏิบัติตามคำสอนของพระผู้พระภาค. เนื้อหานี้เป็นส่วนหนึ่งของบทเรียนที่มีการวิเคราะห์ลักษณะการดำรงชีวิตและการปฏิบัติของบุคคลตามคำสอน.

หัวข้อประเด็น

-จำแนกประเภทหญิง
-การแบ่งประเภทสัตว์
-มรรครที่เกี่ยวข้อง
-ภิกษุและเมถุนธรรม
-การศึกษาคำสอนของพระผู้พระภาค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมันปลาสำคัญแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 146 ในคำว่า "หญิง ๑ จำพวก" เป็นคำนี้มีสัตว์ ๑๒ จำพวก ซึ่งเป็นทั้งดินสมุด อันเป็นวัดดูแห่งปราชญ์ คือ สตรี ๓ จำพวก อุดโภชญาณ ๓ จำพวก มันทะรา ๓ จำพวก นุบัง ๓ จำพวก ในสัตว์ ๑๒ จำพวกนั้น สตรีและนุบังปรากฏชัดแล้ว ชนิดของ บันเทาะกีและอุดโภชญาณ จักมีปรากฏในวรรณนาแห่งบรรพชา ขั้นทะก: ส่วนในคำว่า "ผู้เสพเมถุนธรรมเฉพาะมรรคร" แห่งหญิง มนุษย์" นี้ พึงทราบได้ความว่า "ในบรรคร แห่งหญิงมนุษย์" พึง ทราบอย่างนี้ทุกๆ บท. [มรรครที่เป็นวัดดูแห่งปราชญ์รวม ๓๑] ก็มรรครเหล่านี้ทั้งหมดดีเดียว มี ๓๐ ล้วน คือของหญิงมนุษย์ มี ๓ มรรคร ของหญิงมนุษย์ ๓ มรรคร ของสัตว์วิดิฉานตัวเมีย มี ๓ มรรครวมเป็น ๘ ของมนุษย์อุดโภชญาณเป็นกันนี้ ๓ ของ มนุษย์บันเทาะกีเป็นกัน ๖ เพราะแห่งเป็นพวกละ ๒ มรรคร ๓ แห่งหญิง มนุษย์ผู้ชายเป็นกันมี ๖ เหมือนกัน. ภิกษุเมื่อเสพเมถุน สอด องค์ชาตของคนเข้าไปในบรรครวมที่รัญว่าเป็นมิตรเหล่านั้น มรรครใด มรรคนึ่ง แม้เพียงแต่ดังเดิม ย่อมต้องปราศรัย. แต่เพราะเมื่อจะ ต้อง ย่อมต้องค่ายมานติดเท่านั้น เว้นจากค่ายมานต้องไม่; เพราะ เหตุนั้น พระผู้พระภาค เมื่อทรงแสดงลักษณะนั้น จึงตรัสพระดำรัส ว่า "ภิคุณสุ สวนจิตต อุปฏิปา" ดังนี้เป็นกันน. บรรดาแปลนั่น บวกว่า ภิกษุสุ ได้แก่ ภิกษุผู้เสพเมถุน บทว่า สวนจิตต ในคำว่า "สวนจิตต อุปฏิปา" นี้ เป็นปฏิสนา- วิกิตติ ลงในบรรดาสัตว์มีวิตติ. อธิบายว่า "เมื่อสวนจิตปรากฏแล้ว."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More