การบอกกล่าวในปฐมมนต์ปลาสักกา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 125
หน้าที่ 125 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายการบอกกล่าวในปฐมมนต์ปลาสักกา รวมไปถึงการใช้คำในการบอกกล่าวและลักษณะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระเพื่อนพรหมจรรย์ เช่น การบอกด้วยคำว่า 'สรพุทธมาจิริ ปจจุามิ' และการใช้คำเฉพาะต่าง ๆ เช่น 'คีติ ม ธาริ' เพื่อแสดงลักษณะต่าง ๆ ในฐานะของบุคคลหลากหลายอาชีพ เช่น ชาวนาและพ่อค้า ซึ่งช่วยให้เห็นภาพรวมของวิธีการบอกกล่าวในบริบทของพระธรรมและชุมชน.

หัวข้อประเด็น

-การบอกกล่าวในพระธรรม
-ลักษณะคำและบทบาท
-พระเพื่อนพรหมจรรย์
-การนำเสนอคำไหวพจน์
-บทบาทของอาชีพในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมมนต์ปลาสักกาแปล ภาค ๒ - หน้า ที่ 125 การบอกกล่าวด้วยคำว่า "สรพุทธมาจิริ ปจจุามิ" ไม่ใช่เป็นการบอกกล่าวด้วยคำไหวพจน์ การบอกลักษณะ ย่อมมีได้ด้วยคำไหวพจน์ แห่งพระเพื่อนพรหมจรรย์นี้ คือ :- ขันพร้า ศึกษาอธิษย์ ศึกษาอธิษฐ ศึกษาอธิปัญญา ร่วมกับ ภิกษุใด, ขันธ์เจ้าบอกคำพระเพื่อนพรหมจรรย์นั้น. การบอกกล่าวด้วยคำว่า "คีติ ม ธาริ" ไม่ใช่เป็นการบอกกล่าวลักษณะ, การบอกลักษณะ ย่อมได้ด้วยคำไหวพจน์แห่งกษัตริย์อย่างนี้ คือ :- อาคารโถติ ม ธาริ ท่านจงทรงข้ามเข้าไวว่า 'เป็นผู้ครองเรือน,' กาลโถติ " " ท่านจงทรงจำข้ามเข้าไว้ว่า 'เป็นชาวนา,' วาณิโชติ " " ท่านจงทรงจำข้ามเข้าไว้ว่า 'เป็นพ่อค้า,' โครภโถติ " " ท่านจงทรงจำข้ามเข้าไว้ว่า 'เป็นผู้เลี้ยงโค,' โอคลุโถติ " " ท่านจงทรงจำข้ามเข้าไว้ว่า 'เป็นคนคำร่า,' โมลิทะพุโถติ " " ท่านจงทรงจำข้ามเข้าไว้ว่า 'เป็นคนใจรุก,' กามคุณโถติ " " ท่านจงทรงจำข้ามเข้าไว้ว่า 'เป็นคนเสพกามคุณ,'
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More