ปฐมสมันตาปาสกาแปล ภาค ๒ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 134
หน้าที่ 134 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้เกี่ยวกับการอธิบายความหมายของ 'อริยบุคคล' ในพุทธศาสนา โดยมีการอธิบายภาษาและการสื่อสารของพระภิกษุที่ไม่สามารถเข้าใจภาษาอื่นหรือไม่รู้ในพุทธสมุยสิกขา บทความยังพูดถึงการอภิปรายเกี่ยวกับการใช้ภาษาที่แตกต่างกันในการสื่อสารและความหมายของภาษาทั้งสองที่นำเสนอในบริบททางพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังเสนอคำถามที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างของการสื่อสารระหว่างภิกษุพร้อมกับการอ้างอิงถึงเอกสารพุทธเฉพาะที่ส่งผลต่อการรับรู้และการเข้าใจในบทสนทนา.

หัวข้อประเด็น

- การวิเคราะห์อริยบุคคล
- ความหมายของโภาหร
- ความสำคัญของการสื่อสารในพุทธศาสนา
- ปัญหาในการเข้าใจภาษาอื่น
- การเรียนรู้ในพุทธสมุยสิกขา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมันตาปาสกาแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 134 ไม่เข้าในไซร้ สังขา กิ๋งมไม่เป็นอันอลาเลย. พระผู้มีพระภาคเจ้า จะแทรงแสดงใจความนี้ จึงตรัสถามว่า "อริยบุคคล" เป็นคำما ในคำว่า "อริยบุคคล" เป็นคำณนั้น มีวินิจฉัยดังนี้.- โภาหรของชาวอริยะ ชื่อว่าอริยกะ ได้แก่ ภาษาของชาวมคธ. โภาหร ที่ไม่ใช่ของชาวอริยะอย่างใดอย่างหนึ่ง ชื่อมักกะ ได้แก่ โภหรของชาวอันธพาล เป็นคัน. หลายบ่อยว่า โสกา น ปฏิวาณติ ความว่า (ถชชนชะ มิลักษณะนั้น) ไม่เข้าใจว่า "ภิกษุนี้พูดเนื้อความชื่อ" เพราะ ความที่ตนไม่รู้ในภาษาอื่น หรือเพราะความที่ตนไม่ลาดในพุทธสมุย สิกขา ย่อมไม่เป็นอันอลา. บทว่า ทวาย ความว่า ภิกษุผูมีความประสงค์จะพูดอย่างหนึ่ง โดยเร็ว แต่พูดไปโดยเร็วว่า "ข้าพเจ้ากระกั้นพระพุทธเจ้า" ดังนี้ (ชื่อว่า ภิกษุปิดนสิกขา โดยกล่าวเร็ว). บทว่า รายา แปลว่า โดยการพูดฤาค. หากจะมีผู่มาถามว่า "ภิกษุคดิว่า เราบอกอย่างหนึ่ง ดังนี้ แต่พูดไปอย่างหนึ่ง คือพูว่า 'เราบอกนินพระพุทธเจ้า' ดังนี้, คำพูดที่พูดนี้ กับคำพูดที่อยู่ก่อน? มีความแตกต่างอย่างไร ?" ๑. ภิกษาสรัดกิบปีนี้. ๒/๒๔๕. แก้ไว่ว่า ทวาย สหศา แปลว่า บวกว่า ทวา แปลว่าโดยเร็ว. ๒. อุปัฏฐ ภิสารามิค อนุญฺฺ บาณฺฑุ โท พุทฺธ ปฏิญฺญามิตติ ภณฺดฺ สรัดกิบปีนี้. ๒/๒๕. ๓. ปุริมฺาน ภณฺนส สุทธิ อิมสุภ ภณฺฑส โก วิสโลติํ ปุจฺฉิโกา เอก ปุจฺฉติ อตกฺโค นา ปุจฺฉิโด อุตฺต โยชนา ๑/๒๕๓.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น