ความสำคัญของปัญญาในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 99
หน้าที่ 99 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงความสำคัญของปัญญาในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของพระพุทธเจ้าและพระสาวกในการชักชวนมหาชนให้มีส่วนร่วมในปัญญาที่ถูกต้อง ปัญญาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาศาสนาของสัตว์โลก อันเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดการบรรลุธรรมและกุศลต่างๆ ในที่สุด ปัญญาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดถูกสัมผัสได้จากการปฏิบัติธรรมและเป็นบ่อเกิดของกุศลในโลกนี้

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของปัญญา
-บทบาทของพระพุทธเจ้า
-การพัฒนาศาสนา
-อภิปัญญาและวิปัสสนา
-การชักชวนในธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฏิสนธิเปาสถานกษาาน ๒ - หน้าที่ 99 เพราะว่ากิริยาผู้พร้อมจิตนั้น หาเสมอญธรรมมิไม่. อันหนึ่ง ก็มิสถตางกาย (ญาณรู้ว่าสัตว์มีธรรมเป็นของตน)ซึ่ง เป็นไปโดยนิยมว่า “ผลานาที่ให้แล้วมีอยู่ ผลาญาชั้นแล้วมีอยู่” เป็นปัญญา จริงอยู่ ปัญญานั้น เมื่อพระพุทธเจ้าบดขึ้นแล้วตำ มได่อุปติขึ้นดังกล่าว เป็นไปอยู่ในโลก. เมื่อพระพุทธเจ้าบดขึ้นแล้ว พระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ดี พระสาวกทั้งหลายก็ดี ย่อมชักชวนมหาชนให้ สมาทานในปัญญานั้น. เมื่อพระพุทธเจ้ามีอุปติขึ้น พระปัจเจก- พุทธเจ้า สมพรหามนต์ พวกกรรมวิธีประพฤติชอบธรรม พระเจ้า จักรพรรดิมหาราชา และพระมหาโพธิสัตว์ ย่อชักชวนมหาชนให้สมาทาน (ในปัญญานั้น). สัตว์ทั้งหลาย ผู้เป็นบัณฑิต ก็สมานแม่ด้วยตนเอง. จริงอย่างนั้น อังคุฎเทพตุโรได้ถวายทานล้นปี. เวลามพรานบัณฑ์ พระเวสสันดร และมนุษย์อันติดเหล่านิ่มมาก ย่อได้ถวายทาน แล้ว. เวลามพรานบัณฑ์เป็นดังนั้น ครั้งบำเพ็ญกุศลบรรลุมันให้ บริบูรณ์แล้ว ก็ได้สวยสมบัติในฤทัยของเทวเทพและในมนุษย์. ส่วนวิปัสสนาญาณ ที่เป็นเครื่องกำหนดอาการคือใครลักษณ์ ท่านเรียกว่า “อภิปญฺญา.” จริงอยู่ อภิปญฺญานั้น เป็นปัญญาที่ถึงและ สูงสุดกว่าบรรดาโลภิโปญฺญาที่หลาย ๆ ดูอีสานและอธิษฐาน ยิ่งและสูงสุด กว่าบรรดาอิสิและจิตทั้งหลายจะนั่น นอกพุทธบาทาก หมาเป็นไปใน โลกไม่. กิใปัญญาที่สมปฏุตด้วยมรรคนและผลนั้นแล เป็นปัญญาที่ยิ่งแมกกว่า วิปัสสนาญาณนั้น. แตปัญญาที่สมปฏุตด้วยมรรคนและผลนั้น ท่านมิได้ ประสงค์เอาในอดิรานนี้. เพราะว่ากิริยาผู้พร้อมปัญญานั้น หาเสพ เมุณธรรมมิไม่ จะนี้แล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More