ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปฐมสัมปทานกาสาธิกาเปล่า ภาค ๒ - หน้าที่ 48
อธิบายว่า "อินคนชั้นต่ำเหล่านั้น พึงเสพ."
บทว่า คามสมม ได้แก่ เรื่องของชาวบ้าน, มีคำอธิบายว่า "เป็นธรรมของพวกชาวบ้าน."
บทว่า วาสสมม ความว่า เป็นธรรมของเหล่าผู้เป็นคนชั้นต่ำ เพราะอรรถว่า หลังกอ คือเทอซึ่งงามธรรม ได้แก้ของพวกบูรษ เลวทราม. อีกอย่างหนึ่ง เป็นวาสสมม ก็คือเป็นธรรมเป็นเหตุๆไหล ออกแห่งกิเลส.
บทว่า ทุฒูลสุ ได้แก่ เป็นของชั่ว คือถูกลสประทุษร้าย และ เป็นของหยาบ มีคำอธิบายว่า "เป็นของไม่สุขุม คือไม่ละเอียด."
บทว่า โอกนฺติกิ ความว่า เมุณธรรมชื่อว่าน้ำนี้เป็นที่สุด เพราะอรรถว่า กินเนื่องด้วยน้ำนี้ที่สุด คือเป็นอาณแห่งมหุณธรรม นั่น. ซึ่งเมุณธรรมอ่อนนี้เป็นที่สุดนั่น.
บทว่า ราหุล ได้แก่ เป็นธรรมมีในที่กล้ คือลีในโอกาส อนันต์บัง. จริงอยู่ ธรรมนี้ใคร ๆ ไม่อาจจะทำให้เปิดเผย คือไม่อาจจะทำในวิสัยที่บุคคลเหล่านั้นจะเห็นได้ เพราะเป็นครรดน่าคิด. เพราะเหตุนี้ พระผู้พระภาคเจ้า จึงตรัสว่า "เป็นรรมลมั่น."
บทว่า ทุวย ทวย สมปฏติ แปลว่า อันบุคคลลึ้งร่วมกันเป็นคู่ ๆ บาลว่า "ทวย ทวย สมปตติ" ก็มี. อาจ่ายบ้างพวกสวดกันว่า "ทายทยสมปฏติ" ดังนี้นง. คำนี้ ไม่มี. พึงประกอบว่า "สมปุโชติสุดที" นั้น เขาด้วยนามศัพท์ที่ท่านกล่าวไว้ในนวว่า "ตถุ นาม ตุว" นี้ว่า "สมปุโชติสุดที นาม" (เธอก็ชื่อว่าได้จงลักษณะธรรม).