ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค(๓) - ปฐมฌานดปลาสักกะนแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 144
"เป็นปราชญ์" เพราะเหตุนี้เป็นผู้แพ้ คือถึงความแพ้. จริงอยู่ แม้ใน
คัมภีร์รับวิราว พระผู้มีพระภาค ทรงหมายเนื้อความนี้: ตรรกว่า
"อนาถติ" เราเรียกว่านั้น ว่าราชิค, ท่านจงฟังอัตถันนั้น
ตามที่กลา, เพราะบุคลผู้ต้องปราชญ์ ย่อมเป็น
ผู้คลื่อนผิด ตกไป และเห็นห่างจากสภาพธรรม,
แม้ธรรมเป็นที่ร่วมกันในบุคคลนั้น ย่อมไม่มี,
เพราะเหตุนี้ อนัตนั้น เราจงเรียงอย่งนั้น
(ว่าราชิค)."
[อรรถาธิบายความในพระคาถา]
ถึงในบริวารคาถานี้ มีเนื้อความดังต่อไปนี้:- บุคคล ผู้ละเมิด
สิกขาขบทั้น และต้องอนัตั้น ย่อมเป็นผู้คลื่อน (จากสังคธรรม),
คำทั้งปวงอันบัดนี้ติดพึงประกอบอย่างนี้.
สองบทว่า เตน/จูจิดิ มีความว่า บุคคล ย่อมเป็นผู้ไม่ใช่
สมณะ ไม่ใช่เหล่าอาสาคณะปฏิบัติ และขาดจากไป ขาดไป คือล้างแพ้
จากศาสนา เพราะเหตุนี้, เพราะเหตุนี้ บุคคลนั้น เราจึงกล่าว ถาม
ว่า "กล่าวอย่างไร ?" ก็ว่า "กล่าวว่าเป็นผู้แพ้."
ภิญญทั้งหลาย ย่อมอยู่ร่วมกันในธรรมนี้ เหตุนี้ ธรรมนี้จึงชื่อว่า
สงวาส, พระผู้มีพระภาคตรัสว่า "สาวโส นาม" ดังนี้แล้ว จึงตรัส
คำเป็นคำว่า "เอกกูฏ" คือเพื่อแสดงสงวาสนั้น.
ในคำว่า "เอกกูฏ" เป็นต้นนั้น มีคำอธิบายพร้อมทั้งโยษนา
ต่อไปนี้:- สงกรรมทั้ง ๔ อย่าง ชื่อวรรณอันเดียวกัน เพราะ