ปฐมสัมผัสภาค ๒ - ความหมายและการตีความ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 350
หน้าที่ 350 / 404

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้อธิบายเกี่ยวกับภิญญูผู้เป็นสาย ว่ามีความหมายอย่างไรในท่ามกลางการทำกรรมและการจัดการทรัพย์ที่เก็บไว้ บทความเน้นถึงการกระทำของภิญญูในการตัดสินใจเกี่ยวกับทรัพย์ที่ไม่มีเจ้าของ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการพิสูจน์และ ลดความซับซ้อนในการรักษาทรัพย์สินตามกฎหมายและจริยธรรม ภิญญูยังอธิบายถึงการที่ทรัพย์สามารถถูกลักได้ถ้าหากมีการเปิดเผยและไม่ได้มีการอารักษาอย่างเป็นทางการ รวบรวมเนื้อหาที่สะท้อนถึงความรับผิดชอบในการจัดการทรัพย์สินและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องในสังคม

หัวข้อประเด็น

- เสียงสะท้อนของภิญญู
- การตีความศาสนา
- การจัดการทรัพย์
- จริยธรรมและกฎหมาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสัมผัสภาค ๒ - หน้า 350 กว่าด้วยภิญญูผู้เป็นสาย ภิญญูชื่อว่าเป็นสาย เพราะอธิบว่า เที่ยวสุดเวลาดา. ท่านกล่าว อธิบายว่า "อยเข้าไปโดยลำดับในภายใน ในสถานที่นั้น ๆ." บทว่า โอริคตวา ความว่า คอยกำหนด คือใครครองดูแล้ว. บทว่า อาณิญฺติ ความว่า บอกทรัพย์ที่เก็บไว้ไม่มีในดุลของ ชนอื่นหรือในวหารเป็นต้น ซึ่งมิได้จัดการอารักษาไว้แก่มภิญญูอีก ผู้ สามารถจะทำโครงกรรมได้. หลายบทว่า อนปติ อุภูมิ ปราราชิผล ความว่า ครั้งเมื่อ ทรัพย์จะต้องลักได้แน่นอน ก็เป็นอนิปัตปราราชิผลทั้ง ๒ รูป คือรูปที่เป็น สายในขณะสั่ง รูปที่คลายออกนี้ ในขณะทำให้เคลื่อนจากฐาน ส่วน ภิญญูปิด ทำปราราชิผลโดยยืนยันว่า "ในเรือนไม่มีผู้ขา เขาถือ ทรัพย์ชื่อโน่นไว้ในส่วนหนึ่งไม่ได้จัดการอารักษาไว้ ทั้งประตู ก็ไม่ได้ปิด, อาจจะลักเอาไป ตามทางที่ไปแล้วนั้นแหละ ไม่มีบุคคลอะไร ๆ ชื่อว่า เป็นอยู่ด้วยความพยายามอย่างลูกผู้ชายอะนี่ ก็ลักทรัพย์อันได้ฟังคำนี้ของภิญญูแล้ว คิดว่า "บัดนี้ เราจักลักเอา (ทรัพย์นั้น)" จึงเดินไปลัก. เป็นปราราชิผลแก่มภิญญูที่ลักนั้น ในขณะ ที่ทำให้เคลื่อนจากฐาน ส่วนภิญญูอันนี้ไม่เป็นอาบิติ. เพราะว่า ภิกษุ ยอมพ้นจากอานีทาน ด้วยคำพูดเป็นปริยาย จะนี้แล้ว. จึงกล่าวด้วยภิญญูสั่ง.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More