ปฐมสมันต์ปลาสำคัญแปล ภาค ๒ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 235
หน้าที่ 235 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาได้อธิบายเกี่ยวกับอาหารทั้ง ๕ ประการซึ่งมีเอยาวาหาร, ปลัสหยาหาร, ปริญปาวาหาร, ปฏิฉันนาวาหาร และกุศาหาหาร ว่ามีลักษณะที่เชื่อมโยงกับคำที่อธิบายในการพิจารณาความเป็นเจ้าของ และบทบาทของพระวันธรรมในการพิจารณาวัตถุ ประโยชน์ และการใช้สอยของวัตถุในอรรถคดี ข้อความนี้ตั้งใจที่จะให้เข้าใจถึงความหมายลึกซึ้งในด้านปัญหาหรือข้อสงสัยที่เกิดขึ้นในพระธรรมบาลของผู้รู้

หัวข้อประเด็น

-อาหาร ๕ ประการ
-การวิเคราะห์การใช้ของ
-พระวันธรรม
-การพิจารณาวัตถุ
-อรรถคดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๓ - ปฐมสมันต์ปลาสำคัญแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 235 แม้อื่นอีก ๕ อย่าง ดังนี้ คือ เอยาวาหาร ลักด้วยความเป็นงโม๑ ปลัสหยาหาร ลักด้วยความคี๑ ปริญปาวาหาร ลักด้วยความกำหนด ไว้๑ ปฏิฉันนาวาหาร ลักด้วยกิริยาเป็น ๑ กุศาหาหาร ลักด้วยการ สับเปลี่ยนสิลา๓ อาหารทั้ง ๕ เหล่านี้ ข้าพเจ้าจงพรานในเรื่อง การสับเปลี่ยนสิลา๓ อื่น ๆ อาหารทั้ง ๕ เหล่านี้ เมื่อจิรรของสงฆ์ อันภิญญูวรรณะเอกอยู่ มี่ใจกิริยาเปลี่ยนสิลา๓ แล้วรับเอาวิธีไป- ดังนี้ คำที่อธิบายนี่ ชื่อว่า เอยาวาหารปัญหา ฟังประมวลปัญหา ทั้งหลายเหล่านี้ แล้วทราบอาหาร ๒๕ ประการเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้: ก็แล้ว พระวันธรรมผู้อาด ในปัญหา ๕ เหล่านี้ ไม่ดัง่วนวิจัย อธิกนีที่เกิดแล้ว พิจารณาดูนะ ๕ ประการ ซึ่งพระโบราณาจารย์ ทั้งหลายมุ่งหมายกล่าวไว้ว่า "พระวันธรรมผู้อาด พิจารณาสวนฐานะ ๕ ประการ คือ วัตถุ ภานะ เทศรา ราคา และการใช้ของเป็น ที่ ๕ แล้วพิธงอรรถคดีไว้" ดังนี้. [อรรถาภิบาลฐานะ ๕ ประการ] บรรดาฐานะทั้ง ๕ นั้น ฐานว่า "วัตถุ" ได้แก่กถะ กีบเมื่อภิญญาผู้เก่า แมรับเป็นสัตย์ว่า "ภิกนทะอันนี้ ผมลักไปจริง" พระ- วินัยร อย่าพึงยกอาบัติขึ้นปรับทันที พึงพิจารณาว่า ภิกนทะอันนี้มี เจ้าของหรือหาเจ้าของมิได้ แม้นในกถะที่มีเจ้าของ ก็พิจารณาว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More