ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคที่ ๑ - ปฐมสัมผัคสาทภาคแปล ภาค ๒ - หน้าที่ ৩๖๔
มีไจฮิต การทำให้เคลื่อนไหวจากฐาน๑ กีบรรดาวาสัง ๓ แม้นี้
ตรัสปราชญ์ในวาระแรก ตรัสสุดล้ลิจจ์ และทุกฎู ในวาระที่สอง
และที่สาม โดยความต่างกันแห่งวัดคุณ ส่วนในความต่างกันแห่งวัดคุณ แม้
ที่มีอยู่ในวาระอีก อื่นจาก ๓ เวรนั้น ตรัสทุกอย่าเดียว เพราะ
เป็นวัดอุณหณเหล่าอื่นไม่ไดวงแน่น วัดฤทธิ์ตรัสไว้ใน ๓ วาระนั้นว่า
"มีใชของอันหวงแหน" จะเป็นของไม่มีใครครอบครอง เป็นของ
ที่ขังแล้วมีมูล (คือความอาลัย) เจ้าของดับแล้วเจ้าของมีได้ หรือ
จะเป็นของตนก็มา, วัดคุณแห่งหวงแหน ๒ ย่อมถึงความมันใจว่า "มีของ
อันผู้อื่นหวงแหน" ก็เพราะในทรัพย์ ๒ อย่างมีความสำคัญว่า
ทรัพย์อันผู้อื่นหวงแหนไว้ และทรัพย์ ๒ อย่างนี้ กิฏฐิโอเอาด้วย
ไฉนจีติ เพราะเหตุนี้ จึงไม่ declare ไป = นี้แน (จากคำในบัดดล)
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครับทรงแสดงความต่างแห่งอาบัติ ด้วย
อำนาจแห่งวัดคุณและด้วยอำนาจแห่งจิต อย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่อจะทรง
แสดงอาบัติ จึงตรัสคำว่า "อนาปัตต สกฺกุญฺญิสฺส" ดังนี้เป็นต้น
บรรดาเทพเหล่านี้ เขว่า สกฺกุญฺญิสฺส ได้แก่ ภิญฺญูผู้มีความ
สำคัญว่า เป็นของตน คือ ผู้มีความสำคัญอย่างนี้ว่า "ภณะแนี้เป็นของ
เรา" เมื่อถือเอาเผงดำของผู้อื่น ก็ไม่เป็นอาบัติ เพราะการถือ
เอา ควรให้ทรัพย์ที่ตนถือเอานั้นคืน ถ้าถูกพวกเจ้าของทางว่า "จงให้." เธอไม่ยอมคืนให้ เป็นปราชิต เพราะเจ้าของทรัพย์เหล่านั้น
ทอดธุระ.