การปฏิบัติสมันปลาสำหรับแปล ภาค ๒ - หน้าที่ ๒๐๕ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 205
หน้าที่ 205 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้านี้กล่าวถึงวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการทำจีวร โดยมีการชี้แจงถึงวิธีการซักและย้อมที่ไม่ควรทำ รวมถึงการเตรียมเสื้อผ้าที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาความเหมาะสมและความสะอาดของจีวร และแสดงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่แนะนำในกระบวนการนี้ โดยเน้นว่าไม่ควรใช้น้ำหรือสิ่งที่มีแป้งในการทำความสะอาดหรือซักจีวร...

หัวข้อประเด็น

- วิธีการทำจีวร
- การซักและย้อมจีวร
- สิ่งที่ไม่ควรทำในการดูแลจีวร
- การแสดงรูปแบบต่าง ๆ ของจีวร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๑๐ - ปฏิบัติสมันปลาสำหรับแปล ภาค ๒ - หน้าที่ ๒๐๕ โยนิเก เพราะถูกลมพัด. ในที่มีผูกมัดไว้ซึ่งนัก เขายกฉลากลายไว้ เหมือนวลีสลาย ลวกลายั้น ควรอยู่.พวกภิกขูเอาด้วยสิ่งต่าง ๆ เย็นเป็น รูป เช่นรูปต๋าขาด คิดถามาคดี ทำกิจารด้วยชึมอย่างใดอย่างหนึ่ง แม่น้ำไวดี ทำรูปช่อผมหรือปูไหว้หิรามะคะเต็ม หรือที่ชายฝั่ง (อนุวดีวร) ก็ดี เพื่อความต้องการประดับจิวรร์ วิธีที่กล่าวมาแล้วนั้น เป็นต้นทั้งหมด ย่อมไม่ควร. การเขียนคำยื่นตามปกติขั้นและ จึงควร. เขาทำผ้ากุฎและผ้าห่วงกุฎไว้ ๒ มุมบาง ๑๖ มุมบาง ที่กุฎและ รังกุฎนั้นก็แสดงรูปต่าง ๆ รูปปากา และรูปไม้ก้อน เป็นต้นไว้, เยาย เป็นรูปปากปายไว้: วิธีทำทั้งหมด ไม่ควร. จะทำผ้า ลูกกุฎและห่วงลูกกุฎไว้เพียง ๔ มุมเท่านั้นจึงควร. [วิธีซักและย้อมจีวร] ด้อยมุมและปมเทียว เป็นของที่รู้ได้ในเมื่ออีมองจีวรแล้ว สควร อยู่. จะใส่จีวรในน้ำต่าง ๆ มี่มีสัณผะอุมแป้งและน้ำข้ามเป็นต้น ไม่ ควร. แต่ในเวลาทำจีวร จะใส่งานเพื่อซักเหงื่อมือและสนิมมีมเป็นต้น และในเวลาที่จีวรสกปรกจะใส่งานเพื่อซักฟอกก็อาจ จะใส่ของหอม ครั้ง หรือขี้น้ำลงในน้ำอ่อน ไม่ควร. อื่นก็ย่ออิฐจีวรแล้วไม่ควรเอาสังช์ หรือแก้วมืออย่างในอ่างนึ่งข้อจีวร. ไม่ควรให้ทั้งสององค์ที่พื้นที่ดินแล้ว เอามือทั้งสองจับจีวรขยันที่ร่างอ้อม. แต่ตอนจีวรไว้ร่างอ้อมหรือบน แผ่นกระดาน แล้วให้จับชาทั้งสองรวมกันไว้ เอามือทบ. สมควรอยู่. แม้กรทบูนั้น ก็ไม่ควรเอากันบาดทุน. แต่พระเกสรในปางก่อนทั้งหลาย ไม่ควรจีวรไว้ แม้ทรงอ้อมเลย (คือ) รูปหนึ่งเอามือจับจีวรยืนอยู่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More