ปฏิสนธิบาลวาสิกกาเปล่า ภาค ๒ - หน้า 67 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 67
หน้าที่ 67 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอการวิเคราะห์ธรรมที่สำคัญในพระพุทธศาสนา รวมถึงการเจริญปัญญาและการระมัดระวังในฐานะภิกษุ โดยการวิเคราะห์ศัพท์และความหมายเฉพาะ เช่น อุฏฐานและอนวกโล ซึ่งเป็นแนวทางในการพัฒนาความรู้และการปฏิบัติให้เหมาะสมเพื่อความเจริญในทางธรรม. http://dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ธรรม
-ความหมายของข้อความ
-การเจริญปัญญา
-บทบาทของภิกษุ
-แนวทางในการปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(คง) - ปฏิสนธิบาลวาสิกกาเปล่า ภาค ๒ - หน้า 67 อามนั่น ฯลฯ จะเห็นด้วยแจ้งธรรมเหล่านี้ที่เดียว." บทว่า ปุปพุทธตาปรัตตู่ ความว่า เบื้องต้นแห่งรตธี กล่าวว่า บูรพาธี เบื้องปลายแน่รตธี กล่าวว่า อุปรรตธี มีอธิบายว่า "ปุปยามและปัจจิยาม." บทว่า โภชปฏิกิริกาน คือ มีในฝ่ายแห่งปัญญาเครื่องตรัสรู้. อธิบายว่า "เป็นอุปการะแก่อตามตรัณฎฺญ." บทว่า ควานานุโยค แปลว่า ความประกอบเนื่อง ๆ ในการเจริญ (ไพจิตรธรรม). สองบทว่า อนุฏฏตา วิภารยุยาม ความว่า พวกกระผมละ คิหิปสิโป และอาวาสปิไหโพ แล้วจะพึงเป็นผู้ประกอบขวนขวาย ไม่มี กิอ่อนอยู่ในสถานะอันดัง. บทว่า เววามาวโล ความว่า พระเถรา เมื่อไม่ทราบอัยยิศัย ของเธอเหล่านี้ ได้ฟังคำอวดอ้างมามายนี้ ของภิกษุเหล่านั้นแล้ว จึ่งสำคัญอยู่ว่า "ถ้าเธอเหล่านี้ จักเป็นผู้เช่นนี้ไร้ ก็เป็นการดี" แล้วรับว่าจ้า ได้ท่านผู้ชื่ออุทาหหลาย! [เรื่องทรงห้ามมิให้ภิกษาว่าชัชฎบรรพชาตและสมบัติ] แม่สองบทว่า "อุฏฐาน อนวกโล" นี่ เป็นอันตร SC๓าหเหตุ. จริงอยู่เหตุ ท่านเรียกว่า "ฐาน" และ "โอกาส" เพราะเป็นที่ตั้ง แห่งผล โดยความที่ผลนั้นเป็นไปเนื่องด้วยอนุสัย และเพราะเหตุบั้น ก็ตีเป็นโอกาสแห่งผลนั้น โดยความที่เหตุบั้นเป็นไปเนื่องด้วยผลนั้น. พระ- ผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงห้ามเหตุบั้น จึงตรัสว่า "อุฏฐานเมต อนมมุต"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More