ภูมิคุ้มกันของฝากในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 351
หน้าที่ 351 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงภูมิคุ้มกันของฝากในพระพุทธศาสนา โดยเน้นไปที่บทบาทของภิกษุผู้รับของฝากและการรักษาทรัพย์สินที่นำมาฝากไว้ การอธิบายว่าใครคือภิกษุผู้รับของฝากและวิธีการที่พวกเขาทำเพื่อรักษาทรัพย์ในที่อยู่ของตน มีการกล่าวถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าที่เกี่ยวข้องกับภิกษุและสิ่งของที่เจ้าของนำมาฝากไว้ มีการกระทำและหลักการที่สำคัญในการรักษาทรัพย์ ซึ่งสอดคล้องกับวิธีการประพฤติตนของภิกษุในพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงอาบัติที่อาจจะเกิดขึ้นจากการรับของฝาก เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในบทบาทของภิกษุ ผู้รับของฝากในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-ภูมิคุ้มกันของฝาก
-ภิกษุในพระพุทธศาสนา
-การรักษาทรัพย์สิน
-ข้อพิจารณาเกี่ยวกับอาบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(๓) - ปฐมสัมผัสภาคแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 351 ถ้ากูว่าด้วยภูมิคุ้มกันของฝาก ภูมิคุ้มกันว่า ผู้รับของฝาก เพราะอรรถว่า รักษาทรัพย์ที่เขานำ มาฟังไว้ ภิญโญ ในอนันต์ กล่าวว่า "ท่านผู้เจริญ! ช่วยดูแล ทรัพย์สินลักษณ์ครู จนกว่าผมจะทำกิจOther แล้วกลับมา" ได้รักษา ทรัพย์ที่เขานำมาท่านอยู่ในสถานที่อยู่ของตนไว้ คำว่า "ภิกษุผู้รับของฝาก" นั้นเป็นชื่อของภิกษุนั้น เพราะเหตุนันนั้นแล พระผู้พระภาคเจ้า จึง ตรัสว่า "ภิกษุชื่อว่า ผู้รับของฝาก ได้แก่ ผู้ทรงทรัพย์ที่เขานำมา ฝากไว้" ดังนี้ ในเรื่องนั้น ภิกษุผู้รับของฝาก ไม่ได้แก้ข้อสิ่งของที่เจ้าของเขา ผูกแล้วก็ตราไว้โดยมาก ตัดแต่ขอรอสอบหรือข้างล่างออกแล้ว ถือ เอาแต่เพียงเล็กน้อย ทำการขึ้นเป็นต้น ให้ยังปลอดตามเดิมอีก สำหรับ ภิกษุคิดเห็น "เราจะถือเอาด้วยวิธีอย่างนี้" แล้วทำการจับต้องเป็นต้น พึงทราบว่ามีอาบัติตามสมควร จะนี้แล. จงกล่าวว่าด้วยภิกษุผู้รับของฝาก.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More