การตีความคำสอนในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 201
หน้าที่ 201 / 404

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้พูดถึงการตีความคำสอนในพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับความไม่เบียดเบียนและความเมตตาที่พระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงออกในธรรมเทศนา โดยอธิบายคำต่าง ๆ ได้แก่ 'อนุญา' และ 'อนุญมปา' ที่เน้นความสำคัญของการเห็นแก่ทุกข์ของผู้อื่น และการไม่ทำร้ายสัตว์ ทั้งยังสื่อสารถึงความเมตตาและความกรุณาเป็นส่วนเบื้องต้นในการดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของเมตตา
-หลักการไม่เบียดเบียน
-การแสดงความอนุเคราะห์
-การตีความคำสอนตามพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๓ - ปฐมสัมผัสกามากาแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 201 หลายบวกว่า คาถาโถ ตมติตี อนาเจจู๋ ความว่า วิกิษ ทั้งหลาย ได้กราบเท้าของพระนิพพานทำภิผีสำเร็จด้วยจินล้วน แต่อยพระ ผู้มีพระภาคจึงตั้งเต้น คำว่า "กิริสุดติ" นี้ ในประโยคว่า "ภูฏูก้ทหลาย! ใน โมมบูรนั่น จึงได้ขอโลนทำภิผีสำเร็จด้วยจินล้วนแล้ว?" เป็น คำอนาคตลงในอรรถอธิบดี มีอาอธิบายว่า "ได้ทำแล้ว" ลักษณะ แห่งการดำคือวิธีอนาคตลงในอรรถอธิบดี ผู้ศึกษาควรแสงหาก คิมภิศัพท์ศาสตร์ ในคำว่า "คู่อินภูกัญทั้งหลาย! ความเอนดู ความอนุเคราะห์" ความไม่เบียดเบียนมิได้มีโมมบูรนั่นเลย" นี้ วิริยินฉัฏดังนี้:- ความตามรักษา ชื่อ อนุญา. พระผู้มีพระภาคเจ้า ย่อมแสดง ธรรมส่วนเบื้องต้นแห่งเมตตา ด้วยวาทว่า "อนุญา" นั้น. จิตไหวตาม เพราะทุกข์ของผู้อื่น ชื่อว่า อนุญมปา. ความไม่ เบียดเบียน ชื่อว่า อิวิสถวา. พระผู้มีพระภาคเจ้า ย่อมทรงแสดงธรรม ส่วนเบื้องต้นแห่งทุกข์า ด้วยสอดงบว่า "อนุญมปา และ อิวิสถวา" นั้น พระองค์ตรัสคำอธิบายไว้ดังนี้ว่า "คู่อินภูกัญทั้งหลาย! เมื่อ พระนิพพานโมมบูรนั่นเบียดเบียน คือทำสัตว์เล็กน้อยเป็นอันมากให้ พิณาไปอยู่ เพราะขุดดิน ขยำโลน และคืดไฟเผา ความเอนดู ความอนุเคราะห์ ความไม่เบียดเบียน เมเป็นเพียงส่วนเบื้องต้นแห่ง เมดตาและกรุณาในสัตว์ทั้งหลายเหล่านี้ ชื่อว่า มิได้เลย คือความ เอนดูเป็นตันนั้น ชื่อแม่มีประมาณน้อยก็ได้มิ." หลายบวกว่า มา ปฐิมา ชณฒา ปาณสง ปาณณส ปาณพูติ อาปูชติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More