ปฐมภาคปลากคำแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 319 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 319
หน้าที่ 319 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจเรื่องราวเกี่ยวกับความเชื่อใจและความสงสัยในการฝากทรัพย์สิน โดยมีการวิเคราะห์พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องระหว่างเจ้าของและผู้รับฝาก เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่เจ้าของมีข้อสงสัยในความซื่อสัตย์ของผู้รับฝาก จะนำไปสู่การตั้งคำถามว่า ทรัพย์ที่มอบไว้นั้นจะถูกส่งคืนหรือไม่ โดยมีการพูดถึงความอุตสาหะและพฤติกรรมที่อาจมีผลต่อความสัมพันธ์ได้ อาทิเช่น ความหยาบคายหรือการไม่ให้กลับคืน ทำให้เจ้าของรู้สึกไม่ปลอดภัยและอาจส่งผลต่อการดำเนินชีวิตตามที่ได้ฝากไว้ในมือของผู้อื่น รวมทั้งการใช้เหตุผลในการตัดสินใจบางอย่าง.

หัวข้อประเด็น

- ความสัมพันธ์ของเจ้าของกับผู้ฝาก
- ปัญหาความน่าเชื่อถือในสังคม
- การวิเคราะห์บุพพประโยค
- ความอุตสาหะในผู้อื่น
- เมื่อความสงสัยเกิดขึ้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมภาคปลากคำแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 319 ถ้าว่า ด้วยสิ่งของที่ขาฝากไว้ พังทรมานในของฝากต่อไป- แม้ในเพราะกล่าวเท็จ ที่ที่รู้ตัวว่า "ขาฝากไปไม่ได้รับไว้" ดังนี้ เป็นทุกกุ เพราะเป็น บุพพประโยคแห่งกินนานา คงเป็นทุกกุเหมือนกัน แต่แก้ภิุณกล่าว ว่าพี่นคำว่า "ท่านพูดอะไร ? คำนี้ไม่สมควรแก่ขาฝาก" ทั้งไม่ สมควรแก่ท่านด้วย," เจ้าของยังความสงสัยให้เกิดขึ้นว่า "เราได้มอบ ทรัพย์ไว้ในมือของภิุณนี้ ในที่สุด คนอื่นไม่มีใครรู้, เธอแจกให้แก่ เรา หรือไม่หนอ ? เป็นอุลล่องอิญเกิยกุ. เจ้าของเห็นความที่กฤกุ นันเป็นผู้หยาบคายเป็นต้น จึงทอดธูระว่า "ภิคุณนี้ จักไม่คืนให้แก่ เรา." ในภิคุณโจรและเจ้าของกันทะนั้น ภิคุณนี้ ยังคงความอุตสาหะ ในคนให้ว่า "เราจักทำให้เขาบาก แล้วจักให้" ยังทราบอยู่ก่อน. แม้ว่าเธอไม่มีความอุตสาหะในอันให้, แต่เจ้าของนันดายังมี ความอุตสาหะในการเอาอันัญ ยังทราบอยู่เหมือนกัน. แต่ถ้ภิญไม่มีอุตสาหะในอันให้นั้น, เจ้าของนันดะก็ทอดธูระว่า "ภิคุณนี้ ถ้าไม่ให้ แก่เรา" เป็นปราชญ์แก่อนิย เพราะทอดธูระของทั้งสองฝ่าย ด้วย ประกาศนี้. แม้กล่าวภิคุณพูดแต่บว่า "เอาให้" แต่อย่าไม่อยาก ให้, แม้เมื่อเป็นเช่นนี้ ก็เป็นปราชญ์ ในเพราะเจ้าของทอดธูระ. แต่ไม่เป็นอาบิตแก้ภิญผู้หยาบคาย ชื่อว่าของฝากไว้นั้น ที่รุนเหล่านิ มอบไว้ในมือของตน เพื่อประโยชน์แก่การคุ้มครองให้เคลื่อนให้จาก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More