ปฐมสมเด็จพระสาตกษาแปล ภาค ๒ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 137
หน้าที่ 137 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงการนิยามกรรมและธรรมในแง่ของความเป็นคู่ และการมีส่วนร่วมของบุคคลในกรรมต่าง ๆ โดยให้ความสำคัญกับการทำความเข้าใจในการทำกรรมร่วมกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาความสัมพันธ์ของคน คู่บุคคลในทางธรรม โดยเฉพาะในมุมมองของพระพุทธศาสนา เนื้อหารวมถึงคำอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ชื่อว่าเมุณธรรมและการเรียกรวมถึงการปฏิวัตินามที่มีต่อตัวบุคคล ผลกระทบที่เกิดขึ้นในระบบความเข้าใจเกี่ยวกับกรรมและธรรมเพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

- การนิยามกรรม
- ธรรมในพระพุทธศาสนา
- การร่วมกันของคู่บุคคล
- เมุณธรรม
- การปฏิวัตินาม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(๓) - ปฐมสมเด็จพระสาตกษาแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 137 นั่นแล ชื่อวา โอภากัณต์ กรรมมียังเป็นที่สุดนั่น ชื่อวาอูนธรรม กรรมมันชื่อว่าเป็นกรรม เพราะความเป็นกรรมที่ต้องทำในที่สุด คือในโอภากัณต์ปิดนั่น กรรมมัน ชื่อวาอูนธรรม" กรรมมัน ชื่อวา คนเป็นคู่ ๆ พึงร่วมกัน เพราะความเป็นกรรม อนุบุคคลพึงร่วมกันเป็นคู่ ๆ ในบทรู้ว่า "ทวยทวยสมบูติ" นั้น พึงทราบโยบ่นว่ากรรมอันเป็นคู่ ๆ พึงถึงร่วมกันนั้น ชื่อว่า เมุณธรรม." ก็แต่ ในอธิกนี้ พระผู้พลภาคเจ้าจะทรงกล่าวชัธรรม ทั้งปวงมือสัทธรรมเป็นดั่งนี้ในดีเอง จึงตรัสว่า "นี้ ชื่อว่า เมุณธรรม." ถามว่า "เพราะเหตุไร อัสธรรม จึงเรียกว่า เมุณธรรม?" แก้วว่า "อัสธรรมมัน เป็นของคนคู่ที่หนัดแล้ว ผู้หนัด จัดแล้ว ผู้ฉันจะซุ่มแล้ว คือผู้ฉันจะกลุ่มรุมแล้ว ได้แก่เป็นธรรม ของคนคู่ป่านกัน เพราะเหตุนี้ จึงเรียกว่า เมุณธรรม." บทว่า "ปฏิวัตินาม" นี้ เป็นนามกิตา เพื่อแสดงอาการ ซึ่งเป็นเหตุอันพระองค์ตรัสเรียกบุคคลว่า "พึงเสพเฉพาะ" ในบทว่า "ปฏิวัติเดยย" นี้. ในบทว่า "โย ฉนิวุตตน ฉนิวุต" เป็นดั่ง มวิรัตฉัยดังนั้น:- ก็ญาได้ให้มณิฎตนเข้าไปทางมณิฎของหญิง คือห้องคชาตของ ตนเข้าไปทางคชาตของหญิง ในโอกาสอันชุม ชิงลมถูกต้องไม่ได้ โดยประมาณอย่างต่ำสุด แม้เพียงเมล็ดขาหนึ่ง, ภิกษุนี้ ชื่อว่าย่อมเสพ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More