null ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 82
หน้าที่ 82 / 404

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประกอบ(๑) – ปฏิมสมุนปาฎิสุดาากาเปลอ ภาค ๑๒ – หน้าที่ 82 [วิธีวินิจฉัยอธิรณ์] ถ้าภิกษุบูชารูป ผู้ที่ละเมิดลำดับขณะแล้ว เข้าบำากับ ผู้ลาดในวินิจฉัยนั้น อย่างนั้นแล้ว พึงมาถึงข้อระย.sqrt ของตน ใช่, ภิกษุผู้ลาดในวินิจฉัยนั้น ควรพากดให้ดี ถ้าเป็นอนาบัติ, ก็ควรบอกว่า “เป็นอนาบัติ” แต่ถ้าเป็นอาบัติ, ก็ควรบอกว่า “เป็น อาบัติ” ถ้าอาบัตินั้น เป็นเทวบคามินี, ก็ครวนบอกว่า “เป็นเทวบคามินี”. ถ้าภิกษุบาราศรปรากฏแก้ภิกษุผู้ลาดในวินิจฉัยนั้นใช่ร, ไม่ควร บอกว่า “เป็นอาบัติปราชัย.” เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า การล่วง ละเมิดเมื่อตามธรรม และการล่วงละเมิดดูริติมนสุธรรมเป็นของหยาบ. ส่วนการละเมิดที่นานทานและนบสุวิโกคะเป็นของสุขุป , เป็นการรวดเร็ว ดังใจ ภิกษุอ่อนต้องวัดคำะทั้งสองนั้น ด้วยอาการสุขที่เดียว (และ ย่อมรักษาไว้ด้วยอาการสุข (เหมือนกัน). เพราะเหตุนี้ ภิกษุผู้ถูกถาม ความรังเกียจอสุธ ซึ่งมีความละเมิดนั้นเป็นที่ตั้งโดยพิเศษ ไม่กล่าวพูดว่า “ต้องอาบัติ” ถ้าภิกษุเอยังมีชีวิตอยู่อย่ร, หลังจากนั้น ภิกษูผู้ลาด ในการวินิจฉัยนั้น ควรส่งกุบุนันไปว่า “เจอดาลมอารายอย่างงั้นนำเข้า ดูเถิด.” ถ้าเธอกลับมาอีก บอกว่า “อาจารย์ของท่าน ค้นดูจากพระสูตร พระวินัยแล้วกอบผมว่า เป็นสติกิจจา” (ยังพอแก้ไได้), ในกาลนั้น ภิกษุผู้ลาดในวินิจฉัยนั้น ควรพูดเธอว่า “ดิตละ ๆ, เธอองทำ อย่างที่อาจารย์พูด..” ถ้าอาจารย์ของเจาไม่มีไ,ร, แต่พระเณรผู้เล่าเรียน ร่วมกันมีตัวอยู่, พิงส่งเธอไปยังส่วนของพระเณรนั้น ด้วยสังว่า “พระเณรผู้เล่าเรียนล่วงกับข้าพเจ้าเป็นคนปาโมก มี่ตัวอยู่, เธอองไปถาม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More