การนิยามพระราชาในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 219
หน้าที่ 219 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงพระราชาในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระนามของพระราชาที่ชื่อว่าพิมพิสาร และการอธิบายความสำคัญของตำแหน่งนี้ในสังคมพุทธศาสนา รวมถึงบทเรียนจากพระพุทธเจ้าที่ถ่ายทอดถึงวิธีการปกครองและการดำเนินชีวิตของผู้ใหญ่ในชุมชน โดดเด่นในแนวคิดที่จะยกให้พระราชาเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบในหมู่ประชาชน และอำนาจในการประคับประคองรัฐ

หัวข้อประเด็น

-นิยามพระราชา
-บทบาทในพระพุทธศาสนา
-การเรียนรู้จากพระพุทธเจ้า
-การปกครองในสังคมพุทธ
-การวิเคราะห์คำสอนของพระพุทธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ที่ไม่ใกล้ได้รัศมีนี้นะครับ นี้ว่า เอกโวจ ตอบเป็น เอกอ จววา ความว่่า ได้รัศมีว่า คู่ก่อนภิกขุ! พระราชาผู้เป็นใหญ่แห่ง มรรครัฐ เพียงพร้อมด้วยเสนา ทางพระนามว่า พิมพิสาร จับโจได้ แล้ว ทางมันเสียบ้าง จงจำเสียบ้าง เนตรเทเสียบ้าง เพราะทรัพย์ ประมาณเท่าไหร่หนอ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านี้ ก็ว่า มาใคร ได้แก้ เป็นใหญ่แห่งชาวคณะ. บทว่า เลนโย ได้แน่ ผู้ผู็พร้อมด้วยเสนา. คำว่า "พิพมิลาโร" เป็นพระนามของพระราชพระองค์นั้น. บทว่า ปฐพชิต ว่า มีความว่า ทรงให้ออกไปเสียจากเรือนแคว้น. บทที่เหลือในบทนี้ มีเนื้อความดังนี้. สองบทว่า ปฐพามาลโด ปรโต ความว่า ครั้งนั้น ในครูง ราชคฤฑ์ ฐานะเป็นหนึ่งเท่ากับ ๒๐ มาสก เพราะฉะนั้น บทหนึ่งจึง เท่ากับ ๕ มาสก โดยลักษณะนี้ ส่วนที่สองของกาหปะปนลบพงว่่าเป็นบทหนึ่ง ในขนบนทั้งปวง ก็บทนั้นแล พึงทราบด้วยอำนาจแห่ง นีลาขาปะของโบราณ ไม่พึงทราบด้วยอำนาจแห่งกาหปะนอกนี้ มีฐุรทบทกกาปะ (คือหาปนะที่พระเจ้าราชทราบกะทรงทำให้เกิด มีขึ้น). [พระพุทธเจ้ากองคลิปปรับโทษถึงที่สุดเพียงบานเดียว] แม้พระพุทธเจ้าทั้งหลายที่ได้ลงไปแล้ว ก็ทรงบัญญัติปราชญ์ด้วย บทนั้น ถึงพระพุทธเจ้าทั้งหลายที่จะมีในอนาคต ก็จักทรงบัญญัติ ๑. ยกขึ้นเป็นบทดังอีกครั้งหนึ่ง.๒. ไม่่น่าจะต้องดับอีกเพราะเป็นแก่อรรถ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More