การบัญญัติสิบทานและประโยชน์ ๑๐ อย่างในธรรม ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 53
หน้าที่ 53 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับสิบทานในพระพุทธศาสนา โดยมีการแสดงให้เห็นถึงคุณค่าของทุกๆ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับศีล วิปัสสนา และญาณต่างๆ รวมถึงอานาประโยชน์ ๑๐ อย่างที่เกิดจากการบัญญัติสิบทาน. พระผู้พระภาคได้อธิบายถึงแนวทางในการปฏิบัติธรรมที่เกี่ยวข้องกับสิบทานและหลักการต่างๆที่ทำให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสำเร็จในธรรมได้. อธิบายลักษณะของการมีความเห็นชอบและการมุ่งหมายที่ดีภายในชุมชนสงฆ์.

หัวข้อประเด็น

-การบัญญัติสิบทาน
-อานาประโยชน์ ๑๐ อย่าง
-ศีลและวิปัสสนา
-การปฏิบัติธรรม
-ความเห็นชอบของสงฆ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประกโยค (ปฐมเทศนา) - ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค ๒ - หน้า 53 เป็นทางเครื่องถึงแห่งธรรม คือ ศีล วิปัสสนา ญาณและมรรค กล่าว คือสิทธิขาขึ้นจากเมฆอันนั้นด้วยอำนาจแห่งเนื้อความกล่าวแล้ว ถึงเนื้อความนี้ ทั้งทราบตามมนุษย์ที่กล่าวแล้วในวิถีดังแห่งสิบทาน อีกอย่างหนึ่ง แม้คำที่แสดงวิถีแห่งสิบทานนั้น ก็ทับทราบว่า "เป็นสิบทาน." จริงอยู่ ในมหาอรรถกถา พระอรรถกถารย์ ก็กล่าวคำ แม่นว่า "บรรดาหมวดเหล่านั้น หมวดนาม หมวดนาม หมวดภาย หมวดพยายชนะ อันใด อันนั้นชื่อว่าศบทาน." อีกประกาศหนึ่ง เมื่อพระผู้พระภาคตรัสว่า "อนิทะมิยา เป็นธรรมบท" ย่อมมีอรรถธิบายว่า "อนิทะมิยา เป็นส่วนธรรมอันหนึ่ง" ข้อนี้ฉันใด, แม้นนี้ก็ ฉันนั้น เมื่อท่านพูว่า "สิบทาน" พึงทราบเนื้อความว่า "ส่วนแห่งสิบทาน" คือประกาศหนึ่งแห่งสิบทานดังนั้น ก็ได้. [ประกาศเนื่องจากการบัญญัติสิบทาน ๑๐ อย่าง] หลายบทว่า ทส อตฺถูฏฺถา ปฏิจฺฉ มีความว่า จักอายัติ คือ มุ่งหมาย ปรารถนาจางแห่งเหตุ คือประโยชน์ก็อุบูล พิเศษ ๑๐ อย่างที่จะพึงได้รับ เพราะเหตุบัญญัติสิบทาน มีคำอธิบายว่า เล็งเห็นความสำเร็จประโยชน์พิเศษ ๑๐ อย่าง. บัดนี้ พระผู้พระภาคเจ้า จะแสดงอานาจประโยชน์ ๑๐ อย่างนั้น จึงตรัสว่า "สงฆสุขุตตาย" เป็นต้น. [อธิบายประโยชน์การบัญญัติสิบทาน ๑๐ อย่าง] บรรดาอานาประโยชน์ ๑๐ อย่างนั้น, ที่ชื่อว่า ความเห็นชอบของสงฆ์ ได้แก่ข้อที่ส่งยอมรับวดี คือข้อที่ส่งรับพระคํารรว่า "ดีละ พระเจ้าข้า" เหมือนในอาคสถาที่ว่า "ดีละ สมมติเทพเจ้า !" จริงอยู่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More